Nguyen Thi Thu Hienวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชWimolrat Puwarawuttipanitวัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์Wallada Chanruangvanichมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์2019-06-242019-06-242019-06-242017Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 38-47https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44149Purpose: To examine the relationships between severity of stroke, level of dysphagia, nutritional status, and health status among ischemic stroke patients with dysphagia (ISPD). Design: Descriptive correlational design. Methods: The sample composed of 115 ischemic stroke patients with dysphagia who were admitted to the Neurology Department, Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using the patients’ hospital records and 4 questionnaires: 1) the NIH Stroke Scale (NIHSS), 2) the Gugging Swallowing Screen Scale (GUSS), 3) the Nutritional Risk Screening 2002 Scale (NRS-2002), and 4) the 12-item Short Form Survey (SF-12v2). Spearman’s Rho was employed to test the relationships among studied variables. Main findings: The findings revealed that severity of stroke and level of dysphagia were negatively correlated with physical health (rs = - .45, rs = - .31, p < .05); and mental health (rs = - .54, rs = - .71, p < .05); whereas nutritional status was positively correlated with both physical and mental health (rs = .42, rs = .23, p < .05). Conclusion and recommendations: Severity of stroke, level of dysphagia and nutritional status affected physical and mental health of ischemic stroke patients with dysphagia. In order to improve health status for this group of patients, nurses should assess and detect dysphagia symptoms and nutritional status among patients with ischemic stroke. Nutritional programs should be developed and implemented as appropriate.วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ระดับการกลืนลำบาก ภาวะโภชนาการ และภาวะสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลำบาก รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลำบาก จำนวน 115 คน ที่เข้ารับการรักษาที่แผนกระบบประสาท โรงพยาบาลแบคมาย กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 4 ชุด ได้แก่ 1) แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง the NIH Stroke Scale (NIHSS), 2) แบบประเมินภาวะการกลืน the Gugging Swallowing Screen Scale (GUSS), 3) แบบประเมินภาวะความเสี่ยงทางโภชนาการ the Nutritional Risk Screening 2002 Scale (NRS-2002), และ 4) แบบประเมินภาวะสุขภาพ the 12-item Short Form Survey (SF-12v2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่าความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองและระดับการกลืนลำบาก มีความสัมพันธ์ทางลบกับสุขภาพกาย (rs = - .45, rs = - .31, p < .05) และสุขภาพจิต (rs = - .54, rs = - .71, p < .05) ขณะที่ภาวะโภชนาการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาพกายและสุขภาพจิต (rs = .42, rs = .23, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ระดับการกลืนลำบาก และภาวะโภชนาการมีผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะการกลืนลำบาก เพื่อส่งเสริมภาวะสุขภาพของผู้ป่วยพยาบาลควรมีการตรวจสอบภาวะการกลืนลำบาก และภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ และควรมีการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมภาวะโภชนาการและนำไปใช้อย่างเหมาะสมในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบengMahidol Universityischemic strokedysphagiahealth statusnutritional statusstroke severityโรคหลอดเลือดสมองตีบภาวะกลืนลำบากภาวะสุขภาพภาวะโภชนาการความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองตีบJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์Factors Related to Health Status among Ischemic Stroke Patients with Dysphagiaปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลำบากArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล