ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญChardsumon Prutipinyoมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข2018-11-292018-11-292561-11-292561วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค.2561), 209-2222408-249Xhttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/36907การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอทางกฎหมายให้เรือนจำปลอดบุหรี่เพื่อสุขภาพของผู้ต้องขัง และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในเรือนจำ วิธีการศึกษาโดยทบทวนเอกสาร สัมภาษณ์อย่างเจาะจง และการ สังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า ระบบการดูแลสุขภาพของผู้ต้องขังในเรือนจำ ได้รับการสนับสนุน งบประมาณจาก 2 แหล่ง คือ งบรักษาพยาบาลจากกรมราชทัณฑ์ ซึ่งมีอยู่ในจำนวนจำกัด ไม่เพียงพอต่อ จำนวนผู้ต้องขังในเรือนจำทั้งประเทศ และงบประมาณในระบบหลักประกันสุขภาพ (Universal Coverage : UC) ผู้ต้องขังในเรือนจำทั่วประเทศมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มากกว่าร้อยละ 75 ซึ่งนอกจากจะ ทำลายสิ่งแวดล้อมในเรือนจำแล้ว ยังทำลายสุขภาพของผู้ต้องขัง เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคเรื้อรัง เพื่อเป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในเรือนจำทั่วประเทศ การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ใน เรือนจำประการหนึ่งคือให้ผู้ต้องขังเลิกสูบบุหรี่ นอกจากความห่วงใยในสุขภาพของผู้ต้องขังแล้ว ยังเป็น การคุ้มครองสุขภาพของผู้ต้องขังรายอื่นที่ไม่ได้สูบบุหรี่ด้วย การให้เรือนจำเลิกจำหน่ายบุหรี่เป็นวิธีการ ที่ดีที่สุด ปัจจุบัน สามารถพัฒนาเรือนจำปลอดบุหรี่นำร่องได้ 12 แห่ง การวิจัยนี้มีข้อเสนอให้อธิบดี เรือนจำและกระทรวงสาธารณสุขจัดทำอนุบัญญัติให้เรือนจำเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ด้วยวิธีไม่อนุญาตให้มี การจำหน่ายบุหรี่ เพื่อสุขภาพของผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในเรือนจำThe purpose of this study is to provide a legal framework for smoke-free prisons, to protect the health of prisoners and correction officers working in correctional facilities. This is a document review, in-depth interview and participatory observation research. Results of the study found that inmates' health care system is supported by two sources. One source is from the medical treatment budget of the Department of Corrections, which is very limited and Insufficient for prisoners around the country. The second source of budget is from a Universal Coverage (UC) budget. The prevalence of smoking prisoners across the country is more than 75 percent, which destroys environment and also health of inmates. This is an important cause of chronic diseases. In order to create a smoke-free environment in prisons across the country, it is necessary to help prisoners to stop smoking. Creating a smoke-free environment is one way in which prisoners can quit smoking. In addition to the concern of the smoking prisoners’ health, it also protects the health of other non-smoking inmates. By banning of cigarette selling in correctional facilities, it is the best way to improve smoking cessation. Currently, there are 12 smoke-free prisons. This research offers legal advice to smoke-free prisons, through prohibiting selling of cigarettes, to protect the health of prisoners and correctional officers working in prisons.thaมหาวิทยาลัยมหิดลเรือนจำเขตสูบบุหรี่เขตปลอดบุหรี่วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุขPublic Health & Health Laws Journalเรือนจำปลอดบุหรี่: ข้อเสนอทางกฎหมายSmoke-Free Prison: Legal ConsiderationsArticleคณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล