Prapaipit SrimawongAnchalee TantiwetrueangdetKoset PinpradapVasant SumethkulVachira KochakarnKittinut KijvikaiKrisada Ratana-OlarnSuchart ChaimuangrajCharoen LeenanupunthSopon JirasiritamWisoot KongchareonsombatChagriya Kitiyakaraประไพพิศ ศรีมาวงศ์อัญชลี ตันติเวทเรืองเดชโกเศศ ปิ่นประดับวสันต์ สุเมธกุลวชิร คชการกิตติณัฐ กิจวิกัยกฤษฎา รัตนโอฬารสุชาติ ไชยเมืองราชเจริญ ลีนานุพันธุ์โสภณ จิรสิริธรรมวิสูตร คงเจริญสมบัติชาครีย์ กิติยากรMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Research CenterMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of PathologyMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of MedicineMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Surgery2022-10-112022-10-112022-10-112009Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 1 (Jan-Mar 2009), 3-120125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79882Background: Fibrosis in the renal biopsy is associated with poor long term outcome in many kidney diseases. However, fibrosis occurs at a late stage when the kidney is irreversibly damaged. Molecular biology techniques are currently being investigated to identify early prognostic markers in kidney diseases. Reverse transcriptase real-time PCR (RT-qPCR) is a highly sensitive technique capable of detecting small changes in gene expression, Transforming growth factor-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 (TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1) is a key mediator of fibrosis and is expected to be increased in damaged tissues. This is a pilot study to investigate the feasibility of the using RT-qPCR to study gene expression of TGF-31 in human kidney tissues. Methods: RNA was extracted from normal and diseased human kidneys with fibrosis and reverse transcribed. TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 gene expression was studied by multiplex RT-qPCR using cyclophilin A as a housekeeping gene. Relative gene expression was calculated from 2-DDCT method. Results: The expression TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 in three different areas of the same kidney were similar The expression of TGF-bgif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 was 4-5 fold higher in disease kidney tissues compared to normal (p < 0.001). Summary: TGF-P1 gene expression can be measured from human kidney using RT-qPCR. There are minimal effects of tissue sampling on gene expression levels, hence tissue obtained from a kidney biopsy should be representative of the whole kidney cortex. The expression of TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 is higher in fibrotic kidneys. Future studies are necessary to determine if the TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 gene expression markers can predict disease progression.บทนำ: การตรวจพบเนื้อเยื่อชนิดที่เป็นเส้นใย (Fibrosis) ในชิ้นเนื้อที่ไต้จากการเจาะไตสามารถใช้เป็นปัจจัยทำนายว่าผู้ป่วยจะมีการพยากรณ์โรคไม่ดีในโรคไตหลายชนิด อย่างไรก็ตามการเกิดเนื้อเยื่อชนิดเส้นใย มักจะพบในระยะท้ายของโรค ซึ่งมักจะเป็นช่วงเวลาที่ไตถูกทำลายไปมากและไม่สามารถรักษาให้กลับมาเป็นปกติได้ การตรวจโดยใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถใช้สืบค้นหาปัจจัยที่มีประโยชน์ในการพยากรณ์โรคในระยะต้นของโรคไตหลายชนิด วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เป็นการศึกษานำร่อง เพื่อประเมินความเป็นไปได้ในการนำเทคนิค (RT-qPCR) มาใช้ในการตรวจหาหน่วยพันธุกรรมของ TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 ในชิ้นเนื้อที่ได้จาการเจาะไตของผู้ป่วย ทั้งนี้ มีแนวคิดว่าการตรวจด้วยวิธี Reverse Transcriptase realtime PCR (RT-qPCR) เป็นการตรวจที่มีความไวและสามารถนำมาตรวจหาการเปลี่ยนแปลงของการแสดงออกของหน่วยพันธุกรรม (Gene) ในปริมาณน้อยๆ ได้ โดยมีข้อมูลว่า Transforming Growth Factor Beta (TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1) เป็นกลไกหลักของการเกิดเนื้อเยื่อชนิดที่เป็นเส้นไยในระยะต้น และเป็นที่คาดหมายว่าสามารถตรวจพบได้ในชิ้นเนื้อไตที่เจาะจากผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะต้น วิธีการวิจัย: ได้ทำการสกัด RNA จากชิ้นเนื้อไตปกติ และชิ้นเนื้อไตที่เจาะจากผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะต้น และทำการแปลงกลับเป็น DNA ด้วยวิธี Reverse transcription ได้ทำการตรวจค้นหายืนของ TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 โดยใช้ Cyclophilin เป็นยืนที่ทำหน้าที่ช่วยในการแปลผล (House keeping gene) การวัดการแสดงออกของยืน ใช้วิธีคำนวนด้วยวิธี 2-DDCT ทั้งนี้ในชิ้นเนื้อไต 1 ชิ้น จะได้รับการลุ่มให้วัดการแสดงออกของยืน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 3 ตำแหน่ง ผลการศึกษา: การแสดงออกของยืน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 ในชิ้นเนื้อไตเดียวกันจะมีคำใกล้เคียงกัน แม้นวจะได้รับการสุ่มให้วัดในตำแหน่งที่ต่างกันเป็นจำนวน 3 ตำแหน่ง การแสดงออกของยืน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 ในชิ้นเนื้อไตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะต้นสูงกว่าชิ้นเนื้อไตปกติ 3-4 เท่า (P < 0.001) สรุปผลการศึกษา: การใช้เทคนิค RT-qPCR สามารถนำมาใช้ตรวจหาการแสดงออกของยืน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 จากชิ้นเนื้อไตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังความแตกต่างของคำที่วัดได้ในแต่ละตำแหน่งของการสุ่มวัดมีน้อยมาก ซึ่งทำให้สามารถนำผลที่ได้มาทำนายการเปลี่ยนแปลของไตในภาพรวมได้ การแสดงออกของยืน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 จะมีมากขึ้นในชิ้นเนื้อไตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เมื่อเทียบกับชิ้นเนื้อไตปกติอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมว่าการตรวจพบการแสดงออกของยีน TGF-gif.latex?\dpi{100}&space;\beta1 ที่สูงขึ้นจะมีความสัมพันธ์กับการกำเริบของโรคไตในระยะยาวengRenal Transforming Growth Factor Beta Gene ExpressionOriginal ArticleResearch Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University