อุษณีย์ ฟองศรีฉันทนา เคหะรุ่งฤดี ปาวิชัยมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-082021-09-082564-09-082561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63469ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 221บริบทของหน่วยตรวจโรคแพทย์เวร-ฉุกเฉิน ให้บริการตรวจรักษาและ บำบัดผู้ป่วยวิกฤติ-ฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง พบว่า มากกว่า 90 % ผู้ป่วยยังไม่ ทราบขั้นตอนการบริการ 50 %เป็นผู้ป่วยกลุ่มไม่เร่งด่วน มีเพียง 56 %ของ แพทย์ที่หมุนเวียนจากทุกภาควิชาที่ทราบข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน ทำให้มี ความเสี่ยงทางคลินิกและในการดูแลต่อเนื่อง จึงมีผู้ป่วยค้างต่อเพื่อสังเกต อาการแบบไม่จำกัดจำนวน โดยไม่สามารถรับไว้ในโรงพยาบาล ส่งต่อ สถานพยาบาลอื่น และบางส่วนมีปัญหาสิทธิการรักษา รวมทั้งการให้คำแนะนำ และคิวนัดในระบบคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ป่วยที่ไม่มีความเร่งด่วนในการรอตรวจ ทำให้สูญเสียเวลาในการดูแลผู้ป่วยที่มีความเร่งด่วนในการรักษา จึงมี ผลกระทบต่อการบริการของห้องแพทย์เวร หน่วยตรวจโรคแพทย์เวร – ฉุกเฉิน จึงนำแนวคิด LEAN มาจัดการปัญหาโดยการวิเคราะห์การบริการของหน่วยงาน เพื่อกำหนดมาตรฐานสำหรับบริการที่จะส่งมอบและสื่อสารไปยังผู้ป่วยและญาติ ตามความคาดหวัง และให้เกิดความพึงพอใจในทีมผู้ให้บริการการรักษาและ การบริการthaมหาวิทยาลัยมหิดลLEANห้องแพทย์เวรหน่วยตรวจโรคแพทย์เวร – ฉุกเฉินขั้นตอนการบริการService Improvement Program Project toward LEAN Unitชุดโครงการเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการในหน่วยตรวจโรคแพทย์เวร – ฉุกเฉินตามแนวคิด LEANProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล