วิษณุ วงษ์สว่างสุวรรณา แสนยุติธรรมเชาวลิต นาคทองมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. โรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่าปศุปาลันมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุข2016-03-072017-04-102016-03-072017-04-102016-03-072557Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2557), 33-421906-2257https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1700การศึกษานี้เป็นการสำรวจความชุกและชนิดพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคเนื้อจำนวน 309 ตัว ที่อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยพบความชุกของการติดพยาธิภายในเท่ากับร้อยละ 86.40 (267/309) ความชุกรายฟาร์มเท่ากับร้อยละ 100 (28/28) พยาธิที่พบมากที่สุดคือ พยาธิ Strongylids ร้อยละ 71.84 (222/309) รองลงมาคือ พยาธิ rumen fluke ร้อยละ 20.06 (65/309) และพยาธิ Strongyloides papillosus ร้อยละ 17.15 (53/309) นอกจากนี้ยังพบการติดเชื้อโปรโตซัว coccidian oocyst ร้อยละ 5.5 (17/309) โคเนื้อตัวเมียมีโอกาสติดพยาธิมากกว่าโคเนื้อตัวผู้ 0.879 เท่า (OR = 0.879, 95% CI = 0.411 - 1.882, P-value = 0.741) โคเนื้ออายุมากกว่า 3 ปี มีโอกาสติดพยาธิมากกว่าโคเนื้ออายุน้อยกว่า 3 ปี 1.365 เท่า (OR = 1.365, 95% CI = 0.671 - 2.779, P-value = 0.391) โคพันธุ์พื้นเมืองมีโอกาสติดพยาธิมากกว่าโคพันธุ์ผสม 1.521 เท่า (OR = 1.521, 95% CI = 0.745 - 3.105, P-value = 0.249) การเลี้ยงแบบปล่อยฝูงมีโอกาสติดพยาธิมากกว่าการเลี้ยงแบบยืนโรง 0.845 เท่า (OR = 0.845, 95% CI = 0.440 - 1.622, P-value = 0.613)การศึกษาครั้งนี้ทำให้สามารถทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของการติดพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคเนื้อในพื้นที่ สามารถนำไปใช้เพื่อวางแผนรักษา ควบคุม และป้องกันการติดพยาธิภายในได้เป็นอย่างดีBetween March 2010 and February 2012, fecal samples from 309 beef cattle at Sai-Yok district, Kanchanaburi, Thailand were used to determine the prevalence of gastro-intestinal (GI) parasites infection and to examine the associated determinants i.e. sex, age, and management. The overall prevalence of GI parasites was 86.4% (267/309). The important parasites identified were Strongylids 71.84% (222/309), followed by rumen fluke 20.06% (65/309) and Strongyloides papillosus 17.15% (53/309). The protozoan infection of coccidian oocysts (5.5% 17/309) was also observed. Female cattle, cattle older than 3 years, and native cattle showed the higher prevalent rate including those feed in the grazing pasture. This result provides a basal line data of GI parasites infection which can be used for treatment and control strategies against GI parasites in the future.thaมหาวิทยาลัยมหิดลพยาธิภายในความชุกโคเนื้อกาญจนบุรีGastro - Intestinal parasitesPrevalenceBeefKanchanaburiOpen Access articleการสำรวจความชุกพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคเนื้อ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีThe Survey of Gastro-Intestinal Parasites in Beef, Sai-Yok District, Kanchanaburi ProvinceResearch Articleคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล