ธีรพงษ์ บุญรักษาTheeraphong Boonrugsaมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท2020-05-212020-05-212563-05-212553วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2553), 45-68https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55434บทความนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ประชากรของการศึกษาครั้งนี้คืออาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามจำนวน 800 ชุดไปยังกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดลมีความผูกพันด้านความรู้สึก และความผูกพันในบรรทัดอยู่ในระดับสูง และมีความผูกพันต่อเนื่องอยู่ในระดับปานกลาง และการวิเคราะห์ด้วยสถิติพหุคูณถดถอยแสดงให้ว่า วัฒนธรรมองค์กรแบบกลุ่ม มีอิทธิพลในทางบวกต่อความผูกพันต่อองค์กรด้านความรู้สึก และความผูกพันต่อองค์กรในบรรทัดฐานของอาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดลThis paper presents a study of the factors influencing organizational commitment among lecturers of Mahidol University. In terms of research instrument, a questionnaire was used in a population survey. The questionnaires were sent to 800 population samples representing lecturers at Mahidol University. The findings of the present study revealed that the lecturers have a high level of affective commitment and normative commitment, whereas their continuous commitment is of a medium level. According to a multiple regression analysis, the clan culture has a positive influence upon the affective and normative commitments of lecturers of Mahidol University.thaมหาวิทยาลัยมหิดลความผูกพันต่อองค์กรวัฒนธรรมองค์กรผู้นำผู้นำมหาวิทยาลัยมหิดลorganizational commitmentorganizational cultureleaderMahidol UniversityวารสารภาษาและวัฒนธรรมJournal of Language and Cultureปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของอาจารย์มหาวิทยาลัย : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลFactors influencing organizational commitment among university lecturers: A case study of Mahidol UniversityResearch Articleสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล