Somsak SuthutvoravutTanyalak Kawichaสมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิธัญลักษณ์ กาวิชาMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecology,2022-09-232022-09-232022-09-232015Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 3 (Jul-Sep 2015), 209-2170125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79637Background: Adolescent pregnancy is an important public health issue. It affects not only a maternal and child health but also socioeconomic status of the country. One measure to prevent adolescent pregnancy is teaching sexuality in school which depends curriculum and teachers. Objective: To study knowledge, attitude and teaching sexuality among teachers at an occupational School. 131 male and female teachers at an occupational. During 1 May - 31 August 2012. Methods: This crossectional study recruited the data were collected by self-administered questionnaires regarsing knowledge attitued and teaching sexuality. Chi-square test and t-test were used to test association between these variables with the significant level at P < 0.05. Results: Most of the teachers were male (57.3%), older than 40 years old (55.0%), married (71.0%) had bachelor degree (74.0%), and had teaching experience for more than 10 years (53.4%). Most of the teachers had good knowledge about sexuality (55.0%) hith level of attitude towards sexuality (37.4%) ,but moderate level of teaching sexuality (42.7%). Age, job experience and attitude towards sexuality were significantly associated with teaching sexuality (P < 0.05). Conclusion: Although teachers in an occupational school had good knowledge and attitude towards sexuality, they moderatel taught about sexuality. Teachers in occupational school still have a limited role in disseminating good knowledge and good attitude towards sexuality among to the students because of some inappropriate attitude towards sexuality of the teacher.บทนำ: การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ นอกจากจะมีผลต่อสุขภาพของมารดาและทารกแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ มาตรการการแก้ไขปัญหาอย่างหนึ่งคือการสอนเรื่องเพศในโรงเรียนซึ่งต้องอาศัยหลักสูตรและครูผู้สอน วัตถุประสงค์: การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยชนิดภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาความรู้เรื่องเพศ, ทัศคติ และการปฏิบัติการสอนเรื่องเพศของครูในวิทยาลัยอาชีวศึกษา วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู ชายและหญิง ที่สอนในวิทยาลัยเทคนิคจำนวนทั้งหมด 131 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ครูตอบเองระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 สิงหาคม 2555 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรใช้ไคสแควร์และการทดสอบทีที่ระดับนัยสำคัญ P < 0.05 ผลการศึกษา: พบว่าครูส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 57.3) มีอายุมากกว่า 40 ปี (ร้อยละ 55.0) แต่งงานแล้ว (ร้อยละ 71.0) การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 74.0) มีประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 53.4) ครูมีความรู้ด้านเพศดี (ร้อยละ 55.0) ทัศนคติ (ร้อยละ 37.4) และการปฏิบัติการสอนเรื่องเพศอยู่ระดับปานกลาง (ร้อยละ 42.7) พบว่าอายุ ประสบการณ์สอนและทัศนคติเรื่องเพศมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติการสอนเรื่องเพศของครู (P < 0.05) สรุป: ถึงแม้ว่าครูในโรงเรียนอาชีวศึกษาจะมีความรู้เรื่องเพศและทัศคติด้านเพศดี แต่ปฏิบัติการสอนเรื่องเพศในระดับปานกลาง ครูจึงยังมีบทบาทที่จำกัดในการให้ความรู้ และทัศคติเรื่องเพศที่ดีแก่นักเรียนเนื่องจากปัจจัยบางประการในทัศคติด้านการสอนเพศศึกษาของครูยังไม่เหมาะสมengMahidol UniversityTeachersAttitudeKnowledgeSex EducationKnowledge, Attitude and Teaching Sexuality among Teachers at on Occupational Schoolความรู้เรื่องเพศ, ทัศคติ และการปฏิบัติการสอนเรื่องเพศของครู ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาOriginal ArticleDepartment of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University