Doan Thi Benวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชWimolrat Puwarawuttipanitอรพรรณ โตสิงห์Orapan Thosinghaมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์2019-06-132019-06-132019-06-132017Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 39-46https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44087Purpose: To investigate the relationships between anxiety, depression, fatigue, social support, and quality of life (QOL) among patients with chronic hepatitis B infection in Vietnam. Design: Descriptive correlational study. Methods: Sample was chronic hepatitis B infection patients who were treated at the Department of Infectious Diseases in Bach Mai Hospital, Ha Noi, Vietnam. Data were collected through interview using 5 questionnaires: The Hamilton Anxiety Rating scale (HAM-A), the Hamilton Depression Rating Scale (HAM-D), the Functional Assessment of Chronic Illness Therapy Fatigue Scale (Version 4) (FACIT-F), the Multidimensional Scale of Perceived Social Support (MSPSS), and the SF-36® Health Survey (SF36) to measure QOL. Spearman’s rho was employed to test the relationships between the studied variables and quality of life. Main findings: The findings supported that anxiety, depression, and fatigue were negatively correlated to quality of life (QOL) among patients with chronic hepatitis B infection (rs = - .550, - .683, and - .541, p < .05, respectively). However, social support was not correlated to quality of life (QOL) significantly among patients with chronic hepatitis B infection (p > .05). Conclusion and recommendations: From the findings of this study it is suggested that nurses should screen for anxiety, depression, fatigue, and social support of patients with chronic hepatitis B infection in order to provide appropriate care to enhance QOL.วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า ความเมื่อยล้า การสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิต ในผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรังจำนวน 115 รายที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกโรคติดเชื้อ ในโรงพยาบาลบาคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม ความวิตกกังวล (Hamilton Anxiety Rating Scale: HAM-A) ภาวะซึมเศร้า (Hamilton Rating Depression Rating Scale: HAM-D) แบบวัดความเมื่อยล้า (Fatigue Scale Version 4) การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และคุณภาพชีวิต (SF36) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป โดยใช้สถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการศึกษา: ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า และความเมื่อยล้ามีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรัง (rs = - .550, - .683, and - .541, p < .05, ตามลำดับ) การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p > .05). สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรคัดกรองความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรัง และให้การช่วยเหลือที่เหมาะสม รวมทั้งการจัดการอาการเมื่อยล้า และส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรังengMahidol Universitychronic hepatitis B infectionquality of lifeanxietyfatiguesocial supportตับอักเสบบีเรื้อรังคุณภาพชีวิตความวิตกกังวลภาวะซึมเศร้าการสนับสนุนทางสังคมJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์Factors Related to Quality of Life among Patients with Chronic Hepatitis B Infection in Vietnamปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคตับอักเสบบีเรื้อรังในประเทศเวียดนามArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล