Chuleeporn JiarpinitnunThiti SwangsilpaPuangpen TangboonduangjitRasin WorawongsakulOrawan Rattanasuwanชุลีพร เจียรพินิจนันท์ธิติ สว่างศิลป์พวงเพ็ญ ตั้งบุญดวงจิตรราศิน วรวงศากุลอรวรรณ รัตนสุวรรณMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Radiology2022-09-152022-09-152022-09-152018Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 109-1200125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79546Radiotherapy could function as immunosuppressive agent for allotransplantation due to the ability of ionizing radiation to cause cell death, the technique could be applied to irradiate total body, bone marrow and/or lymphoid tissues of the recipient who receive an allograft as an immunosuppressant to improve the success rate of transplantation. From the past to the present, the radiation techniques in allotransplantation process have been continuously studied and developed across preclinical and clinical settings, in order to achieve better therapeutic outcomes. Currently, total lymphoid irradiation by fractionation and total body irradiation with low dose are most frequently used radiotherapy techniques in allotransplantation process. The advanced radiotherapy techniques such as total marrow and/or lymphoid irradiation by volumetric arc therapy (VMAT) or helical tomotherapy (HT) have gained interests. These advanced techniques could increase therapeutic ratio by improving conformity high radiation dose to the targets and reducing dose to the surrounding normal tissues. This review aims to provide the insights of radiotherapy applications as an immunosuppressive agent for allotransplantation and to share clinical experiences and outcomes.การฉายรังสีสามารถนำมาใช้ในกระบวนการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะเพื่อช่วยกดภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่ให้เกิดการต่อต้านอวัยวะที่ปลูกถ่าย เนื่องด้วยคุณสมบัติของรังสีที่ก่อให้เกิดไอออนจะทำให้เกิดการตายของเซลล์ที่โดนรังสี จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เทคนิคการฉายรังสีเพื่อช่วยกดภูมิคุ้มกันในกระบวนการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะได้มีการศึกษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่องในเชิงพรีคลินิกและคลินิก เพื่อนำมาสู่เทคนิคที่เหมาะสมที่สุดในการรักษาผู้ป่วย ปัจจุบันเทคนิคการฉายรังสีที่ได้รับการยอมรับเพื่อช่วยกดภูมิคุ้มกันสำหรับผู้ป่วยที่เข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ คือ การฉายรังสีบริเวณเนื้อเยื่อน้ำเหลืองและการฉายรังสีทั่วทั้งลำตัวด้วย ปริมาณรังสีขนาดต่ำ ในอนาคตการศึกษาค้นคว้ามุ่งเน้นไปที่การฉายรังสีด้วยเทคนิคขั้นสูงที่สามารถปรับรังสีขนาดสูงให้จำเพาะเจาะจงเฉพาะบริเวณเนื้อเยื่อที่ต้องการรักษา โดยสามารถลดปริมาณรังสีต่อเนื้อเยื่อปกติที่อยู่บริเวณรอบข้างได้ในเวลาเดียวกันหรืออาจมีการปรับเปลี่ยนใช้ชนิดของรังสีที่มีคุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์ที่มีความจำเพาะเจาะจงมากขึ้น เพื่อช่วยเพิ่มอัตราความสำเร็จในกระบวนการรักษา โดยผู้ป่วยได้รับผลแทรกซ้อนจากการรักษาลดลง และช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตในระยะยาว บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้และความเข้าใจของการใช้รังสีรักษา โดยการสืบค้นและทบทวนบทความทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับความรู้พื้นฐาน ประวัติศาสตร์ เทคนิคการรักษา และผลลัพธ์ทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการใช้รังสีรักษาเพื่อกดภูมิคุ้มกันในการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ รวมทั้งแบ่งปันประสบการณ์ทางคลินิกเกี่ยวกับการใช้รังสีรักษาengMahidol UniversityAllotransplantationTotal lymphoid irradiationTotal body irradiationTotal marrow irradiationTotal marrow and lymphoid irradiationการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะการฉายรังสีบริเวณเนื้อเยื่อน้ำเหลืองการฉายรังสีทั่วทั้งตัวการฉายรังสีบริเวณไขกระดูกการฉายรังสีบริเวณไขกระดูกและเนื้อเยื่อน้ำเหลืองRadiotherapy as an Immunosuppressive Agent for Allotransplantation: Literature Review and Clinical Experience - Past, Present, and Futureการทบทวนบทความและประสบการณ์ทางคลินิกเรื่องการใช้รังสีรักษา เพื่อกดภูมิคุ้มกันในการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคตReview ArticleDepartment of Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University