ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพรSiripen Ungsitipoonpornมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท2020-07-202020-07-202563-07-202547วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 23, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2547), 25-43https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/57262ภาษาชองเป็นภาษาดั้งเดิมซึ่งยังมีพูดอยู่ในบางส่วนของจังหวัดจันทบุรีของไทย เป็นภาษาที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากมีลักษณะน้ำเสียงถึง 4 เสียง ได้แก่ ลักษณะน้ำเสียงปกติ (R1), ลักษณะน้ำเสียงปกติตามด้วยการกักของเส้นเสียง (R2), ลักษณะน้ำเสียงก้องมีลม (R3), ลักษณะน้ำเสียงก้องมีลมตามด้วยการกักของเส้นเสียง (R4) บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการอธิบายสัทลักษณะของเสียงในภาษาชอง 2 ถิ่น ใน จ.จันทบุรี คือ ภาษาชองถิ่นบ้านคลองพลู กิ่ง อ.เขาคิชฌกูฏ และภาษาชองถิ่นบ้านวังกระแพร อ.โป่งน้ำร้อนthaมหาวิทยาลัยมหิดลภาษาชองจันทบุรีอำเภอโป่งน้ำร้อนน้ำเสียงbreathy voiceglottal constrictionวารสารภาษาและวัฒนธรรมJournal of Language and Cultureสัทลักษณะของภาษาชอง บ้านคลองพลู กิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ และบ้านวังกระแพร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรีResearch Articleสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล