Somporn K. TriamchaisriSiroj SorajjakoolKitiphong HamcharoenSupaporn Naewbood2023-09-122023-09-12201220122023Thesis (Dr.P.H. (Public Health))--Mahidol University, 2012https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89978This study was conducted to explore the factors related to using the SKT-2 technique to control blood pressure and determine appropriate intervention to control blood pressure in the community. It emphasizes community participation to develop a proactive practical team and a model to control blood pressure. The Kae Rai district community in Samut Sakorn was selected as the pilot setting. There were 3 phases of study including 1) preparation of the participants in the community, 2) implementation through model development, and 3) monitoring and evaluation. Qualitative and quantitative methods were utilized to develop the proactive practical team and the model to control blood pressure. Descriptive and inferential statistics were used for the quantitative data analysis and content analysis was used for the qualitative data analysis. Barriers to the SKT-2 practice included personal discipline, inadequate knowledge of disease and perceived disease severity, lack of appreciation of perceived advantage, time and physical limitations, non-supportive relationships, and lack of appropriate teaching media. The facilitators included perceived benefit, good discipline, improved health, good social support, participants trusting instructors, good relationships, and good time management. The study also involved development of guidelines on practice and monitoring of the SKT-2 technique. After a 2-month trial, the study found that participants, including 24 hypertensive persons and 14 health care providers, recorded significantly reduced systolic and diastolic blood pressure among hypertensive individuals (F (1.39, 31.89) = 12.08, p =.001; and F (2, 46) = 14.323, p =.000). However, knowledge and attitudes of both groups before and after were not significantly different. This model improved blood pressure control and was convenient to apply in any location, without limitations of cost and equipment. This study suggests that the Ministry of Public Health should establish a policy of collaborative models between communities and municipal health promotion agencies. The model serves as an example of community-based programs facilitated by proactive practical teams. Capacity building and proactive team building, and partnership facilitate sustainability. This study was supported by the Commission on Higher Educationการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่เป็นอุปสรรค และสนับสนุนการฝึกเทคนิค เพื่อการเยียวยา SKT-2 และพัฒนารูปแบบการควบคุมความดันโลหิตของผู้ความดันโลหิตสูงโดยใช้ SKT-2 ในชุมชน ต.แคราย จ.สมุทรสาคร ขั้นตอนการวิจัยมี 3 ขั้นดังนี้ 1) เตรียมความพร้อมแก่ชุมชน 2) ปฏิบัติการ:พัฒนาทีมปฏิบัติการสุขภาพเชิงรุกและรูปแบบการควบคุมความดันโลหิต 3) ติดตามและประเมินผล การวิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ ในการเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 1) มีการสร้างทีมปฏิบัติการสุขภาพชิงรุกและรูปแบบการควบคุมความดันโลหิต 2) อุปสรรคในการฝึก SKT-2 คือวินัยส่วนบุคล: ขาคความรู้เกี่ยวกับโรค; การรับรู้ความรุนแรง; การรับรู้ประโยชน์; ไม่มีเวลา; มีอาการทางกายหลังฝึก; สัมพันธภาพระหว่างครูฝึกและ สื่อการสอน 3) สิ่งสนับสนุนการฝึก SKT-2 คือ รับรู้ประโยชน์: วินัยดี; สุขภาพดีขึ้น; การสนับสนุนทางสังคมดี:เชื่อมั่นในครูฝึก; และจัดการเวลาได้ดี, 4) มีการพัฒนาคู่มือการฝึก SKT-2 และการติดตามการฝึกของผู้ป่วยที่บ้าน, 5) ผลความดันโลหิตหลังการฝึก 2 เดือนพบว่ากลุ่มผู้ป่วย 24 คนมีค่kความดันโลหิต ซีสทอลิต และไดแอสทอลิต ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F (1.39, 31.89) = 12.08, p = .001; และ F (2, 46) = 14.323, p = .000) กลุ่มเจ้าหน้าที่ 12 คน มีคะแนนเฉลี่ยยความรู้และทัศนคติก่อนและหลังไม่แตกต่างกัน. รูปแบบการควบคุมความดันโลหิตนี้สามารถลดความดันโลหิตในผู้ป่วยได้โดยไม่มีข้อจำกัดการใช้ในเรื่อง สถานที่ เวลา ค่าใช้จ่าย และอุปกรณ์ การศึกษานี้ประสบผลสำเร็งในการเป็นชุมชนนำร่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและความยั่งยืนจึงควรใช้รูปแบบนี้ในชุมชนที่มีบริบทคล้ายกัน งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาx, 227 leaves : ill.application/pdfengMeditation -- Health aspectsBlood pressureHypertensionDevelopment of proactive practical team and hypertensive persons model to control blood pressure by using SKT-2 in a communityการพัฒนาทีมปฏิบัติการสุขภาพเชิงรุกและรูปแบบการควบคุมความดันโลหิตของผู้ความดันโลหิตสูงโดยการใช้เทคนิคสมาธิเพื่อการเยียวยา The SKT-2 ในชุมชนMahidol University