สุวิมล กิมปีSuvimol Kimpeeสุพร ดนัยดุษฎีกุลSuporn Danaidutsadeekulกนกวรรณ บุญสังข์Kanokwan Boonsungวิรุณ บุญนุชWiroon Boonnuchมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์2018-04-282018-04-282561-04-282556วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 2 (เม.ย - มิ.ย. 2556), 16-25https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/11050วัตถุประสงค์: ศึกษาระยะเวลาก่อนการรักษา และการทํานายของอายุ ความรู้เรื่องโรคมะเร็ง ความกลัวอาการผิดปกติต่อระยะเวลาก่อนการรักษาของผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักรูปแบบการวิจัย: การวิเคราะห์ทุติยภูมิ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักทุกระยะของโรค ทั้งผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในแผนกศัลยศาสตร์และอายุรศาสตร์ ที่โรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 80 คน เก็บข้อมูลโดยสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป ประวัติความเจ็บป่วย ระยะเวลาก่อนการรักษา ความรู้โรคมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนัก และความกลัวอาการผิดปกติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการถดถอยโลจิสติกผลการวิจัย: ระยะเวลาก่อนการรักษาของผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักมีค่ามัธยฐาน 60 วัน ความกลัวสามารถลดระยะเวลาก่อนการรักษาที่ล่าช้าได้ 0.4 เท่าในผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรตระหนักว่าข้อมูลมะเร็งทั่วไปไม่เพียงพอที่จะเพิ่มความใส่ใจของผู้ป่วย ควรเน้นถึงความก้าวหน้าของอาการเตือนสําคัญที่คุกคามต่อสุขภาพ การรับรู้ถึงความกลัว หรือ การคุกคามจากอาการเตือนจะทําให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์เร็วขึ้น และควรศึกษาปัจจัยอื่นที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาก่อนการรักษาในผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักPurpose: To investigate time before treatment of colorectal cancer patients and the predictivepower of age, knowledge of colorectal cancer and fear of abnormal symptoms in predicting time beforetreatment of colorectal cancer patients Design: Secondary analysis with predictive design.Methods: The sample consisted of 80 colorectal cancer patients at every stage of the disease whosought the treatment at the outpatient and inpatient clinics of the surgical-medical department, at a government hospital in Bangkok. Data were collected by interview with questionnaires of demographicdata, health history, time before treatment, knowledge of colorectal cancer, and fear of abnormalsymptoms. Descriptive statistics and logistic regression analysis were used in data analysis.Main findings: The median time before treatment of colorectal cancer patients was 60 days. Fearcan decrease the delay time before treatment 0.4 times in colorectal cancer patients at the level of significance .05Conclusion and recommendations: Nurses should be aware that general cancer information maynot enough to raise attention in patients with colorectal cancer. The progress of cancer warning signs to be a major threat for their health should be emphasized. Perceived fear or threat of the warning signscould bring the patients to visit the doctor sooner. Research should be done to explore other factorsinfluencing time before treatment in colorectal cancer patients.thaมหาวิทยาลัยมหิดลมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักความกลัวความล่าช้าของผู้ป่วระยะเวลาก่อนการรักษาOpen Access articleJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์ปัจจัยทํานายระยะเวลาก่อนการรักษาของผู้ป่วยมะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนักFactors Predicting Time before Treatment of Colorectal Cancer PatientsArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล