เสาวลักษณ์ มาโทอวยพร ทรงพัฒน์สกุปิยพร พรมภักดีวรรณิกา มังคลาดSaowalak MathoUaiporn ThrongpatsakulPiyaporn Prompukdeeมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา2022-09-282022-09-282565-09-282564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79706ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 125หน่วยงานเป็นหน่วยงานหลังคลอดพิเศษที่ให้การดูแลทารกแรกเกิด จำนวน 90-100 คน/เดือน และต้องนำทารกไป rooming in กับมารดา ตลอดเวลาเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่พบปัญหาทารกมีภาวะ อุณหภูมิกายต่ำ (ต่ำกว่า 36.8 องศาเซลเซียส) 5-6 ราย/เดือน ส่วนใหญ่ (90%) พบในทารกแรกเกิดอายุ 24 ชั่วโมงแรกเนื่องจากทารกยังปรับตัวได้ไม่ สมบูรณ์อุณหภูมิร่างกายจะเปลี่ยนไปตาม อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมซึ่งห้องพักของมารดาเปิดเครื่องปรับอากาศ เกือบตลอดเวลา (เปิด 23 ชั่วโมง ปิดพัก 1 ชั่วโมง) จากการปฏิบัติงานที่ผ่าน มาทางหน่วยงานแก้ไขทารกที่มีภาวะอุณหภูมิกายต่ำโดยการใช้ผ้าห่มห่อตัว ทารกและการทำรัง(nest) ให้ทารกนอนแต่พบว่าต้องใช้เวลานาน 50-60 นาที ในการทำให้ทารกมีอุณหภูมิอยู่ในเกณฑ์ปกติ การปล่อยให้ทารกมีอุณหภูมิ กายต่ำอยู่นานก็ยิ่งจะเพิ่มความเสี่ยงให้ทารกมีโอกาสน้ำหนักลด หรือเกิด sepsis ได้ อาจทำให้ต้องอยู่รพ.นานขึ้น ซึ่งการป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ของทารก เป็นบทบาทอิสระที่พยาบาลสามารถทำได้ ดังนั้นทางหน่วยงานจึง คิดทานวัตกรรมถุงนอนอุ่นรักษ์ขึ้นมาเพื่อป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำของ ทารกแรกเกิดและลดระยะเวลาในการทำให้ทารกมีอุณหภูมิอยู่ในเกณฑ์ปกติทารกแรกเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำอุณหภูมิMahidol Quality Fairถุงนอนอุ่นรักษ์