นราวุฒิ นาคคนึงเมตตา ปิ่นทองDabayebeh, Ibrahimรุ่งชัย ชวนไชยะกูลRobertson, RobertNarawut NakkanungMetta PinthongRungchai Chuanchaiyakulมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา2015-03-142017-03-162015-03-142017-03-162015-03-142555Journal of Sports Science and Health. Vol.13, No. 3, (Sep.-Dec. 2012), 100-110https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1423Purpose The purpose of this study was to validate of a Thai translated version of OMNI cycle ergometer exercise scale of perceived exertion among young healthy females (N = 17) (18-25 yrs). Methods Heart rate (HR, b/min), oxygen consumption (VO2, L/min), minute ventilation (VE, L/min), respiratory rate (RR, b/min) and ratings of perceived exertion (OMNI cycle Scale; RPE) for the overall body (RPE-O), legs (RPE-L), and chest (RPE-C) were determined at the end of each of 3-min exercise stages in continuously administered exercise tests. Power output (PO) of cycling intensity started at 25 Watt (w) with 25 w incremented in every stage. Subjects performed the exercise test up to 100 w. Results Exercise responses range was for HR: 99.9-153.9 b/min; VO2: 14.20-26.58 ml/kg/min; VE: 15.1-41.7 L/min; RR: 22.3-33.2 b/min and OMNI RPE RPE-O, RPE-L, and RPE-C: 0.8-7.1. Linear regression analyses showed that RPE-O, RPE-L and RPE-C distributed as a positive linear function for all criterion measures (HR, VO2, VE, and RR) (p < 0.01). Correlation between RPE and HR (r: 0.74-0.79, p < 0.01), RPE and VO2 (r: 0.79- 0.80, p < 0.01), RPE and VE (r: 0.82-0.83, p < 0.01), and RPE and RR (r: 0.47-0.49, p < 0.01) were statistically significant. Two-way ANOVA with repeated measures showed that RPE increased at each exercise stage and RPE-L were higher (p < 0.01) than RPE-O and RPE-C. One-way ANOVA with repeated measures showed that HR, VO2, VE, and RR significantly increased with the progression of workload (p < 0.001). Conclusion The Thai translated version of the OMNI Scale of perceived exertion for cycle ergometer exercise concurrent validity is established for young adult female.วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความตรงระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ ในการประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อย ในกลุ่มอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีเป็นหญิงจำนวน 17 คน อายุระหว่าง 18-25 ปี อาสาสมัครออกกำลังกายบนจักรยานวัดงานที่กำหนดให้มีระดับความหนักเพิ่มขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย อาสาสมัครเข้าร่วมการทดลอง 2 ครั้ง โดยแต่ละการทดลองห่างกันประมาณ 48-72 ชั่วโมง ทำการบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจ, อัตราการใช้ออกซิเจน, อัตราการระบายอากาศ, อัตราการหายใจและประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกาย ขาและการหายใจในระหว่างการออกกำลังกายที่มีการเพิ่มความหนักของจักรยานวัดงานครั้งละ 25 วัตต์ทุกๆ 3 นาที โดยใช้ระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ในทุกๆ ช่วงของการออกกำลังกายอาสาสมัครออกกำลังกายจนถึงความหนักของจักรยานวัดงานที่ 100 วัตต์ ผลการวิจัย ในขณะออกกำลังกายอาสาสมัครมีค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจ = 99.9-153.9 ครั้งต่อนาที อัตราการใช้ออกซิเจน = 559.18-1425.18 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, อัตราการระบายอากาศ = 14.2-26.58 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม, อัตราการหายใจ = 22.3-33.2 ครั้งต่อนาที และระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกาย ขา และการหายใจ = 0.8-7.1นอกจากนี้พบว่าระดับความรู้สึกเหนื่อยของอาสาสมัครมีความสัมพันธ์กับอัตราการเต้นของหัวใจ = (r: 0.74-0.79) อัตราการใช้ออกซิเจน (r: 0.79-0.80), อัตราการระบายอากาศ (r: 0.82-0.83) และอัตราการหายใจ (r: 0.47-0.49 )อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01) เมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้สึกเหนื่อยในขณะออกกำลังกาย พบว่า ระดับความรู้สึกเหนื่อย เพิ่มสูงขึ้นตามระดับความหนักของการออกกำลังกาย (p < 0.01) และระดับความรู้สึกเหนื่อยของขามีค่าสูงกว่าระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกายและระดับความรู้สึกเหนื่อยจากการหายใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการวิจัย ระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ มีความตรง สามารถนำไปใช้ได้กับผู้ใหญ่เพศหญิง ในการประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อยขณะออกกำลังกายthaมหาวิทยาลัยมหิดลระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยความหนักของการออกกำลังกายอัตราการเต้นของหัวใจอัตราการใช้ออกซิเจนอัตราการระบายอากาศอัตราการหายใจExercise intensityOMNIScale of perceived exertionHeart rateOxygen consumptionRPEOpen Access articleJournal of Sports Science and Healthวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพValidation of the Omni Scale of perceived exertion for cycle Ergometer exercise in young female: Thai Versionการตรวจสอบความตรงระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ สำหรับการออกกำลังกายด้วยจักรยานในผู้หญิงวัยรุ่น : ฉบับภาษาไทยArticleสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาแห่งประเทศไทย (สวกท)