วรรณเฉลิม ชาววังWanchalorm Chawwangมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน2021-08-062021-08-062564-08-062561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63091ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 146ในการรักษาทางกายภาพบำบัด โดยเครื่องมือที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือไฟฟ้าที่ใช้กับผู้ป่วยและผู้ในการรักษา เมื่อมีการใช้กับผู้ป่วยเป็นจำนวนบ่อยครั้งสิ่งที่ตามมาคือ ความชำรุดของอุปกรณ์ที่เป็นเครื่องมือ สายไฟ สะพานไฟ หรือแม้แต่ปลั๊กไฟจากตัวอาคาร ส่งผลทำให้เกิดเหตุการณ์ที่เป็นมีโอกาสเป็นอันตรายต่อเจ้าหน้าที่และผู้ป่วย และช่วงที่ผ่านมาได้เกิดเหตุการณ์ ไฟฟาลัดวงจรขึ้นในโรงพยาบาล อันเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่ลืมปิดและถอดปลั๊กอุปกรณ์ไฟฟ้าออกหลังเวลาปฏิบัติงงานหรือหลังเวลาใช้งาน ส่งผลให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรและเกิดไฟลุกไหม้ในเวลาหลังเลิกงาน ชึ่งเป็นช่วงเวลาที่ไม่มีเจ้าหน้า แต่จากเหตุการณ์ดังกล่าว พบว่าช่วงเวลาที่มักเกิดเหตุคือในระหว่างเวลาหลัง 16.00 น. - 08.00 น ของวันถัดไป และเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นทั้งในสถานที่ราชการและเอกชน หรือแม้แต่บ้านเรื่อนที่อยู่อาศัย หากเกิดแล้วจะพบว่าเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล จากเหตุการณ์ดังกล่าวเมื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหา พบว่า เกิดจาก 1.คน หรือผู้ปฏิบัติงาน 2.เครื่องมือและอุปกรณ์ 3.ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นรูปธรรม เมื่อนำมาวิเคราะห์และได้กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยให้ทุกคนในหน่วยงานปฏิบัติเป็นรูปแบบเดี่ยวกัน ดังนี้ 1.สำรวจ 2.ตรวจสอบ 3.ประชุม 4.ดำเนินการ 5.เก็บข้อมูล พบว่าจากผลการดำเนินการ 6 เดือน 1.เหตุการณ์ไฟฟ้าช็อตผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ เท่ากับ 0 อุบัติการณ์ไฟฟ้าลัดวงจร เท่ากับ 0 เหตุการณ์การลืมถอดปลั๊กหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ จำนวน 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 0.029 คือ ไมโคเวฟthaมหาวิทยาลัยมหิดลSafeFireเครื่องมือไฟฟ้าการรักษาทางกายภาพบำบัดSaveLifeSave Fire Safe LifeProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล