Pipat CherdrungsiCharoentasn ChintanaseriApasara ArkarapanthuLalida Rojanathammanee2024-07-052024-07-05199619962024Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1996https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99304Physiology of Exercise (Mahidol University 1996)This study was conducted to investigate the effect of standardized ginseng extract on anaerobic threshold. Sixteen male sports science students from Mahidol University volunteered as subjects. They were divided, on the basis of age and aerobic capacity, into two groups as placebo group (n=8) and ginseng group (n=8). The dosage of standardized ginseng extract was 300 mg daily for eight weeks. Anaerobic threshold (AT), maximal oxygen uptake (VO2max), anaerobic power (AP), anaerobic capacity (AC), forced vital capacity (FVC) and forced expiratory volume in one second (FEV1.0) were measured at the beginning and at the end of the 8-wk experiment. It was found that the oxygen uptake (VO2) at AT expressed as ml.kg-1.min-1 or ml.min-1 was not significantly changed whereas the VO2 at AT expressed in term of %VO2max was significantly decreased after ginseng administration. However, the changes were not significantly different from those after placebo. The 8-wk experimental period caused no significant changes in VO(,2max) in both subject groups when compared to the initial (O-wk) values. Significant increases in AP and AC above initial level were found in the ginseng group but not in the placebo group in week 8 of the experiment. However, only the percentage change from the O-wk level for AP (but not for AC) of the ginseng group was significantly greater than those of the placebo group. FVC and FEV1.0 remained the same as the 0-wk levels in both subject groups and were not significantly different between groups in both week O and week 8 of the experiment. The results of this study indicate that administration of standardized ginseng extract did not improve maximal aerobic power and spirometric lung functions and did not significantly alter anaerobic threshold. However, the administration of the ginseng extract could enhance anaerobic power in young healthy male university students.ได้ทำการศึกษาผลของสารสกัดจากโสม ต่อระดับ แอนแอโรบิคเธรซโฮลด์ในอาสาสมัคร ซึ่งเป็นนักศึกษา วิทยาศาสตร์การกีฬา เพศชาย จากมหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 16 คน โดยแบ่งนักศึกษาเหล่านี้ออกเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มที่ รับประทานพลาชีโบจำนวน 8 คน และกลุ่มที่รับประทาน สารสกัดจากโสมจำนวน 8 คน การแบ่งกลุ่มได้พิจารณาตาม อายุและสมรรถภาพร่างกายด้านแอโรบิค นักศึกษาเหล่านี้ได้ รับการฝึกให้เคยชินกับเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการทดสอบ สมรรถภาพร่างกาย 1 ครั้งก่อนเริ่มการทดลอง กลุ่มที่ รับประทานสารสกัดจากโสมได้รับโสมขนาด 300 มิลลิกรัม ต่อวัน ต่อเนื่องกันทุกวันเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ได้ทำการ ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อวัดค่าแอนแอโรบิคเธรซโฮลด์ (AT), อัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO2max), แอนแอโรบิคเพาเวอร์ (AP), แอนแอโรบิคแคพาซิตี้ (AC) และสมรรถภาพของปอด (FVC และ FEV1.0) โดยทำ การทดสอบสองครั้ง คือ ก่อนและหลังรับประทานพลาซีโบหรือ สารสกัดจากโสมเป็นเวลา 8 สัปดาห์ จากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่ากลุ่มที่รับประทานสารสกัดจากโสมไม่มีการเปลี่ยนแปลง ของค่า AT ซึ่งแสดงด้วยค่าอัตราการใช้ออกซิเจน (VO2) ที่คิดเป็นมิลลิลิตรต่อกิโลกรัมน้ำหนักร่างกายต่อนาที ขณะที่ค่า AT ซึ่งแสดงด้วยค่าอัตราการใช้ออกซิเจนที่คิดเป็นร้อยละ ของ VO2max ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อ เปรียบเทียบกับกลุ่มที่รับประทานพลาซีโบ พบว่าไม่มีความ แตกต่างกันของค่า AT ไม่ว่าจะแสดงในรูปของการใช้ ออกซิเจนเป็นมิลลิลิตรต่อกิโลกรัมน้ำหนักร่างกายต่อนาที หรือร้อยละของ VO2max สำหรับค่า VO2max พบว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากค่าเริ่มต้นในทั้งสองกลุ่ม และไม่มี ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม จากการทดลองยังพบว่าค่า AP และค่า AC เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังจากรับ ประทานสารสกัดจากโสม นอกจากนี้พบว่าเปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลงจากค่าเริ่มต้นของ AP ในกลุ่มที่รับประทาน สารสกัดจากโสมสูงกว่ากลุ่มพลาซีโบอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ แต่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่า FVC และ FEV1.0 เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเริ่มต้นของทั้งสองกลุ่ม และไม่พบ ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ผลการทดลองในครั้งนี้แสดง ให้เห็นว่า การรับประทานสารสกัดจากโสมขนาด 300 มิลลิกรัมต่อวัน นาน 8 สัปดาห์ ไม่สามารถเพิ่มสมรรถภาพ การใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกายของนักศึกษาเพศชายที่มี สุขภาพดี รวมทั้งไม่สามารถเพิ่มระดับแอนแอโรบิคเธรซโฮลด์ ของร่างกาย และสมรรถภาพของปอด อย่างไรก็ตามการรับ ประทานสารสกัดจากโสมดังกล่าวสามารถเพิ่มระดับแอนแอโรบิค ของร่างกาย โดยพบว่าค่าแอนแอโรบิคเพาเวอร์เพิ่มขึ้นx, 81 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAnaerobic thresholdGinseng -- pharmacokineticsPlacebo effectEffect of standardized ginseng extract on anaerobic thresholdผลของสารสกัดจากโสมต่อระดับแอนแอโรบิคเธรชโฮลด์Master ThesisMahidol University