โสฬส ศิริไสย์Sorot Sirisaiมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท2020-06-082020-06-082563-06-082549วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 25, ฉบับที่ 2(ก.ค. - ธ.ค 2549), 38-49https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56396การสนทนาเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ทำให้เกิดการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารและการเชื่อมโยงของคววามหมายและการดำรงอยู่ของปัจเจกแต่ละคน หากผู้เข้าร่วมวงสนทนา สามารถเปิดใจรับฟังได้อย่างไม่มีเงื่อนไข จะทำให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับคนอื่นได้ การสนทนาจึงเป็นกลไกการสร้างจิตสำนึกร่วม และความหมายร่วมกันของคนในชุมชน และปรากฏอยู่ในสังคมมนุษย์ทุกสังคม บทความเรื่องนี้เป็นการนำเสนอแนวคิดและปรัชญาพื้นฐานเกี่ยวกับการสนทนา และวิธีการนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดเวทีคิดร่วมกันหรือป้องกกันความขัดแย้งในเวทีชาวบ้านได้thaมหาวิทยาลัยมหิดลdialogueการสนทนาเวทีชาวบ้านสังคมinformationวารสารภาษาและวัฒนธรรมJournal of Language and CultureDialogue: มิติใหม่ของการจัดเวทีชาวบ้านArticleสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล