ชลธิชา สถิระพจน์วิชาญ โชคธนะศิริChonthicha SatirapodWicharn Choktanasiriมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา2022-09-212022-09-212565-09-212560รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 40, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560), 49-580125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79591ภาวะมีบุตรยากจัดเป็นภาวะที่พบรายงานอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ้น และอาจส่งผลต่ออัตราการเกิดของประชากรไทยในอนาคต สาเหตุการเพิ่มขึ้นดังกล่าวเกิดจากหลายปัจจัย เช่น การแต่งงานช้า การวางแผนการมีบุตรที่ช้าลงโดยเฉพาะกลุ่มคนวัยทำงาน อัตราความสำเร็จในการรักษาภาวะมีบุตรยากขึ้นกับสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญในการประเมินคู่สมรส เพื่อหาสาเหตุของภาวะมีบุตรยากให้ครบถ้วนทั้งฝ่ายหญิงและชาย ในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์เพื่อเข้ามาช่วยในการรักษาภาวะผู้มีบุตรยากและเพิ่มอัตราการตั้งครรภ์ ได้แก่ การปฏิสนธินอกร่างกายด้วยวิธี IVF (In Vitro Fertilization) และวิธี ICSI (Intracytoplasmic Sperm Injection) นอกจากการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราการตั้งครรภ์ดังกล่าวแล้ว การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ได้มีการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยตัวอ่อนเพื่อหาความผิดปกติต่างๆ ที่มีสาเหตุจากพันธุกรรม เช่น การทำ PGD (Preimplantation Genetic Diagnosis) หรือ PGS (Preimplantation Genetic Screening) ก่อนทำการย้ายตัวอ่อนกลับโพรงมดลูกฝ่ายหญิงต่อไป เพื่อป้องกันการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมในบุตรที่เกิดจากคู่สมรสที่เป็นพาหะของโรคทางพันธุกรรมได้Infertility is considered to be an increasingly common. It may affect the rate of Thai population in the future. The causes of this increase are multifactorial such as: delayed marriage, delayed child planning especially for working-age people. The success rate for treating infertility depends on the cause of infertility. Therefore, it is important to prioritize the assessment of spouses before treatment to find out the cause of infertility completely female and male. Currently, the assisted reproductive technology is used to assist in the treatment of infertility and to increase the rate of pregnancy, including In-Vitro Fertilization (IVF), Intra-cytoplasmic Sperm Injection (ICSI). Moreover the assisted reproductive technology has led to the development of diagnostic for genetic abnormalities such as Preimplantation Genetic Diagnosis (PGD) or PGS (Preimplantation Genetic Screening) before transferring the embryo back to the uterus. To prevent genetic abnormalities in the offspring of a spouse carrying a genetic disease.thaมหาวิทยาลัยมหิดลภาวะมีบุตรยากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์การปฏิสนธินอกร่างกายการตรวจวินิจฉัยตัวอ่อนInfertilityAssisted reproductive technologyIn vitro fertilizationPreimplantation genetic diagnosisจากพื้นฐานสู่ความก้าวหน้าของการรักษาภาวะมีบุตรยากBasic to Advance Infertility TreatmentArticleภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล