Jariya Supananthapornจริยา ศุภนันทพรJiraporn Chompikulจิราพร ชมพิกุลSirikul Isaranurugศิริกุล อิศรานุรักษ์Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development2012-03-222017-04-072012-03-222017-04-072012-03-222009Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.1 (2009), 1-121905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1615A cross-sectional study was conducted to determine the prevalence of dental caries, gingivitis and characteristics of oral impacts on daily performances among the 6th grade primary school children in Bangbon district, Bangkok. 160 children were interviewed by using Child-Oral Impacts on Daily Performances index (Child-OIDP) and were examined dental caries and gingivitis using criterion of WHO and the Community Periodontal Index of Treatment Needs (CPITN). Data collection was done from January 5 to February 6, 2009. The results illustrated the prevalence of dental caries was 55.63% and mean DMFT was 1.61. The prevalence of gingivitis was 99.38%. Regarding the oral impacts on daily performances, 80.63% of school children had oral impacts on their daily life. The prevalence of impacts was high on eating (61.88%) and cleaning teeth (41.88%). Almost half of school children (45.01%) had very little and little intensity of impacts. For perceived causes of impacts, toothache (51.94%), sensitive tooth (37.21%) and oral ulcer (20.93%) were highly prominent. The results from clinical index and Child-OIDP index showed discrepancy. So there is the challenge for dental personnel to integrate both measures to plan oral health promotion programs, setting priorities of oral health services and allocating oral health resources in primary schools.การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบตัดขวางเพื่อประเมินความชุกของโรคฟันผุความชุกของโรคเหงือกอักแสบ และผลกระทบจากสภาวะช่องปากต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของเด็ก สัมภาษณ์นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 160 คน เพื่อประเมินผลกระทบจากสภาวะช่องปากโดยใช้ดัชนี Child-OIDP และตรวจรอย โรคฟันผุและสภาวะเหงือกอักแสบโดยใช้ข้อบ่งชี้ขององค์การอนามัยโลก และดัชนีสำหรับวัดความจำเป็นในการรักษาดรคปริทันต์ เก็บรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์ 2552 นักเรียนมีความชุกของโรคฟันผุร้อยละ 55.63 ค่าเฉลื่ยฟันผุ ถอน อุด เท่ากับ 1.61 ซี่ต่อคน ความชุกของโรคเหงือกอ้สแสบเท่ากับร้อยละ 99.38 เพียงร้อยละ 8.13 พบเด็กนักเรียนร้อยละ 80.86 มีผลกระทบจากสภาวะช่องปากต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยร้อยละ 61.88 มีปัญหาในการรับประทานอาหาร และร้อยละ 41.88 มีปัญหาด้านการทำความสะอาดช่องปากนักเรียนเกือบครึ่งหนึ่ง (45.01%)มีความเข้มของปัญหาระดับเล็กน้อย สำหรับสาเหตุตาม ความรับรู้ของปัญหา พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากการปวดฟัน(ร้อยละ 51.94)เสียวฟัน(ร้อยละ 37.21)และแผลร้อนใน(ร้อยละ 20.93) ผลการศึกษาพบว่ามีความแตกต่างกันระหว่างการตรวจทางคลินิกและผลกระทบจากช่องปากต่อคุณภาพชีวิตของเด็กทั้งที่ควรจะเป็นไปในทางเดียวกัน ดังนั้นถือเป็นเรื่องท้าทาย ที่ทันตบุคลากรจะเชื่อมโยงการตรวจทั้ง 2 ด้านเข้าด้วยกัน เพื่อการวางแผนโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก การจัดลำดับความสำคัญในการรักษาทางทันตกรรม และจัดสรรทรัพยากร ทางทันตกรรมในโรงเรียนประถมศึกษาengMahidol UniversityOral statusOral impactsSchool childrenOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาThe impact of oral status on daily performances among 6th grade primary school children in Bangbon district, Bangkokผลกระทบจากสภาวะช่องปากต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตบางบอน จังหวัดกรุงเทพมหานครOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University