ณัฐณิชาช์ ปลาบู่ทองปิยวรรณ ทองพันธ์ปาลนา ชัยพิชญ์พงษ์ศรุตา ชินธเนศธนพร เพ็งสอนNatnicha PlaboothongPiyawan TongpanSaruta ChintanetThanaporn Pengsornมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร2022-07-302022-07-302565-07-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72870ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 55การปรับปรุงกระบวนการทำงานเรื่อง “การพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์องค์กร” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการจดจำชื่อของคณะ ICT เพื่อสร้างภาพลักษณ์ด้านความเป็นนานาชาติ เพื่อทำให้กลุ่มลูกค้านึกถึงและเลือกใช้บริการคณะ ICT เป็นลำดับแรก และเพื่อวัดระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ของคณะ ICTผลลัพธ์ด้านการจดจำชื่อคณะฯ ในปี 2564 พบว่า ร้อยละ 61.07 รับรู้และจดจำชื่อคณะฯ ได้ในชื่อ “ICT มหิดล” หรือ “ICT Mahidol” ซึ่งลดลงจากปี 2563 ส่วนด้านการเลือกคณะ ICT เป็นลำดับแรกเมื่อนึกถึงคณะทางด้าน IT พบว่า ในปี 2564 ร้อยละ 68.02 ตัดสินใจเลือกคณะ ICT เป็นลำดับแรกเมื่อนึกถึงคณะด้าน IT ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2563 ที่มีผู้ตัดสินใจเลือกคณะ ICT เป็นลำดับแรก ร้อยละ 67.65 และปี 2562 ร้อยละ 54.79 ผลลัพธ์ด้านภาพลักษณ์ความเป็นนานาชาติ ในปี 2564 อยู่ที่ระดับ 3.52 ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2563 ส่วนผลลัพธ์ด้านระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ของคณะฯ ในปี 2564 อยู่ที่ระดับ 4.24 ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2563 ที่ระดับ 4.07 และปี 2562 ที่ระดับ 3.32thaมหาวิทยาลัยมหิดลภาพลักษณ์การสร้างภาพลักษณ์การจดจำMahidol Quality Fairการพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์องค์กรProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล