Bunlur EmaruchiAreeya Rittima thsWutjanun MuttitanonSomrutai Chaichanrom2024-02-082024-02-08201020102010Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2010https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95487Technology of Information System Management (Mahidol University 2010)การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์เลือกพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสมสาหรับปลูก ปลูกในฤดูแล้ง กรณีศึกษา ทุ่งกุลาร้องไห้ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 85 ของพื้นที่ทั้งหมดของทุ่งกุลาร้องไห้ ซึ่งไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์หลังฤดูทานา เพื่อให้ได้ ผลตอบแทนจากที่ดินที่ว่างเว้นจากการปลูกข้าว จึงส่งเสริมให้ปลูกพืชที่ใช้น้าน้อยมาทดแทนการ ปลูกข้าวในฤดูแล้ง โดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการประเมินพื้นที่ คานวณต้นทุน การขนส่ง และ ผลตอบแทนจากการเพาะปลูก ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ ที่มีศักยภาพในการปลูกพืช ฤดูแล้งกระจายอยู่โดยทั่ว 203,729 ไร่ จากพื้นที่ทั้งหมด 2,107690 ไร่ เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์ทั้งด้านคุณสมบัติดิน ปริมาณน้า ขนาดพื้นที่ ราคาพืช และ ระยะห่างจากตลาด ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อค่าตอบแทนของพืชเศรษฐกิจ สรุปตาม ของพืช แต่ละชนิดเรียงลาดับดังนี้ ถั่วเหลือง 84.4% ข้าวโพด 8.8% งา 3.2% มันสาปะหลัง 2.7% และ ถั่วเขียว 0.8% ของพื้นที่ความเหมาะสมที่ให้กาไรสูงสุดทั้งหมดx, 96 leaves : ill. (some col.)application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าCrop zones -- Thailand, NortheasternCrop zones -- Remote sensingDrought-tolerant plants -- Remote sensingA selection of suitable cash crops for dry season planting : a case study in Tung Kula Rong Hai, Thailandการเลือกพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสมสำหรับปลูกในฤดูแล้ง : กรณีศึกษาทุ่งกุลาร้องให้Master ThesisMahidol University