Kaveepong JaturongkhasumritKeerin MekhoraSirikarn Somprasongกวีพงศ์ จตุรงคสัมฤทธิ์คีรินท์ เมฆโหราสิริกาญจน์ สมประสงค์Mahidol University. Faculty of Physical Therapy2021-09-272021-09-272019-09-272019Thai Journal of Public Health. Vol. 49, No. 2 (May-August 2019), 144-1542697-584X (Print)2697-5866 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63678Stress-induced computer work has been reported to be a factor affecting work-related musculoskeletal disorders (WMSDs). Limited studies have been conducted concerning stress-induced work, compared with physical related factors. The aim of this study was to determine the effects of stress-induced computer work on changes in accessory breathing muscle activity and respiratory rate. Ten healthy volunteer computer users with 20-40 years of age performed 30 minutes of computer typing with a 10-minute induced stress in the middle period. During the first and last 10 minutes they were allowed to type at a comfortable pace and speed. Electromyography (EMG) activity of the upper trapezius and anterior scalene muscles and the respiratory rate were recorded throughout 30 minutes. EMG activity of accessory breathing muscles and respiratory rate were significantly increased during computer typing with a 10-minute induced stress. No significant difference of both accessory breathing muscles activity and respiratory rate were found during the first and the last 10-minute periods. This study’s findings suggested that psychosocial stress during computer work results in increased accessory breathing muscles activity, change breathing patterns, and may lead to increased tendency of WMSDs.การทำงานคอมพิวเตอร์แบบเครียดเป็นระยะ เวลานานส่งผลต่อการเกิดโรคทางระบบกระดูกและ กล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากการทำงาน แต่ยังมีข้อจำกัด ในการศึกษาเปรียบเทียบการทำงานแบบเครียดกับ ปัจจัยทางกาย ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของงานคอมพิวเตอร์แบบเครียดต่อการ เปลี่ยนแปลงการทำงานของคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อของ กล้ามเนื้อช่วยหายใจและอัตราการหายใจ อาสาสมัคร ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สุขภาพดี จำนวน 10 คน (20-40 ปี) ทำการพิมพ์งานเป็นระยะเวลาทั้งหมด 30 นาที โดยกระตุ้นความเครียดในนาทีที่ 11-20 แต่นาทีที่ 1-10 และนาทีที่ 21-30 อาสาสมัครถูกขอ ให้พิมพ์งานด้วยความเร็วที่สะดวกสบาย คลื่นไฟฟ้า กล้ามเนื้อของกล้ามเนื้อ upper trapezius, anterior scalene และอัตราการหายใจ ถูกบันทึกตลอด 30 นาที พบว่า ผลของการทำงานของคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อของ กล้ามเนื้อช่วยหายใจและอัตราการหายใจมีค่าเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญระหว่างการพิมพ์ร่วมกับการกระตุ้น ความเครียดในนาทีที่ 11-20 แต่ไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญของการทำงานของคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ ของกล้ามเนื้อช่วยหายใจและอัตราการหายใจในนาที ที่ 1-10 และ นาทีที่ 21-30 การศึกษานี้ได้แสดงให้ เห็นว่าความเครียดในระหว่างการทำงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้เกิดการทำงานของกล้ามเนื้อช่วยหายใจเพิ่มขึ้น และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการหายใจซึ่งอาจมี แนวโน้มทำให้เกิดโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ อันเนื่องมาจากการทำงานเพิ่มขึ้นengMahidol Universitycomputer workpsychosocial stressEMG activityaccessory breathing musclesการทำงานคอมพิวเตอร์ความเครียดการทำงานของคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อกล้ามเนื้อช่วยหายใจImmediate Effect of Stress-induced Computer Typing on EMG Activity of Accessory Breathing Muscles and Respiratory Rateผลแบบทันทีของงานพิมพ์คอมพิวเตอร์แบบเครียดต่อการทำงานของคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อของกล้ามเนื้อช่วยหายใจและอัตราการหายใจOriginal ArticleFaculty of Physical Therapy Mahidol University