สุดารัตน์ เพียรชอบSudarat Pianchobพวงเพชร เกษรสมุทรPhuangphet Kaesornsamutมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์2019-06-282019-06-282562-06-282561วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2561), 78-87https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44201วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรส่งผ่านการมีสติต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด และการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา วิธีดําเนินการวิจัย:นักเรียนระดับมัธยมศึกษาจํานวน 233 คน ได้รับการสุ่มแบบง่าย และได้ตอบแบบสอบถามจําานวน 4 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้ความเครียด แบบวัดการมีสติ และแบบวัดการใช้สารเสพติด โดยทดสอบความเที่ยงของแบบสอบถามได้ค่าครอนบาคแอลฟาเท่ากับ .72, .87 และ .88 ตามลําดับผลการวิจัย: การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด การมีสติ และการใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบว่า ความเครียดมีอิทธิพลทางลบกับการมีสติ (β = -.46; p < .001) และมีอิทธิพลทางบวกกับการใช้สารเสพติด (β = .16; p < .05) การมีสติมีอิทธิพลทางลบกับการใช้สารเสพติด (β = -.25; p < .001) และการมีสติเป็นตัวแปรส่งผ่านอิทธิพลของความเครียดต่อการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาสรุปและข้อเสนอแนะ:การมีสติทําหน้าที่เป็นตัวแปรส่งผ่านอิทธิพลของความเครียดที่มีต่อการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งการมีสติเป็นสิ่งที่มีความสําาคัญในการบรรเทาอิทธิพลของความเครียดที่จะส่งผลต่อการใช้สารเสพติด ดังนั้น การพัฒนาโปรแกรมการมีสติจะสามารถป้องกันการใช้สารเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้Purpose: To test the mediating effect of mindfulness on the relationship between stress and substance use in secondary school students. Design: Descriptive study. Methods: Simple random sampling was employed to recruit 233 secondary school students. Students were asked to complete 4 questionnaires including general information questionnaire, Perceived Stress Scale, Mindful Attention Awareness Scale, and the Alcohol, Smoking and Substance Involvement Screening Test. The reliabilities of the questionnaires were .78, .85 and .89, respectively. Main findings: The results revealed that stress had a negative direct effect on mindfulness (β = -.46; p < .02) and positive direct effect on substance use (β = .16; p < .05). Mindfulness had a negative direct effect on substance use (β = -.25; p < .001). Moreover, mindfulness mediated the relationship between stress and substance use in secondary school students. Conclusions and recommendations: Mindfulness mediated the relationship between stress and substance use in secondary school students. Findings from this study provided the information related to the mediating effect of mindfulness on the relationship between stress and substance use, which is important to develop appropriate plans of care and intervention aimed at reducing the effect of stress on substance. Therefore, mindfulness based intervention can be beneficial in terms of preventing secondary school students from substance use.thaมหาวิทยาลัยมหิดลตัวแปรส่งผ่านการมีสติความเครียดนักเรียนการใช้สารเสพติดmediationmindfulnessstressstudentssubstance abuseJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์บทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการมีสติต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด และการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาMediating Role of Mindfulness on the Relationship between Stress and Substance Use in Secondary School StudentsArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล