ณัฐทิตา โรจนประศาสน์วิภาวรรณ ตินนังวัฒนะประเสริฐ ทองหนูนุ้ยNatthita RojchanaprasartWipawan TinnungwattanaPrasert Tongnunuiมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์.2015-09-192020-01-072015-09-192020-01-072015-09-192558-01วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 1(2558), 60-73.https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48698การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่ง กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำกลุ่มการท่องเที่ยวของชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ได้แก่ อบต. เจ้าหน้าที่ของสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง และเจ้าหน้าที่ขององค์กรพัฒนาเอกชน) และนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ใน 4 แห่ง คือ หยงสตาร์โฮมสเตย์ บ่อหินฟาร์มสเตย์ เกาะลิบงโฮมสเตย์ และเกาะมุกด์โฮมสเตย์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากผลการศึกษา ความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่งพิจารณาได้จากมิติผลผลิต/ผลลัพธ์ ทั้งชุมชนและนักท่องเที่ยวประเมินสอดคล้องกัน จากคะแนนเต็ม 5.00 ความยั่งยืนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.04 และ 3.82 ตามลำดับ) รวมถึงด้านประสิทธิผลในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน (ค่าเฉลี่ย 4.01 และ 3.78 ตามลำดับ) และด้านผลกระทบของการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน (ค่าเฉลี่ย 4.06 และ 3.85 ตามลำดับ) ทั้งนี้ระดับความยั่งยืนดังกล่าวนี้เป็นผลมาจาก 3 มิติ คือ มิติบริบท มิติทุนทางสังคมของชุมชน และมิติกระบวนการThe objective of this research was to study the sustainability of ecotourism in coastal communities in Trang province, Thailand. The target groups were community tourism leaders, stakeholders (such as the Subdistrict Administration Organization, staff of the Office of Tourism and Sports, staff of Non-Government Organizations), and tourists staying in four homestays. The homestays were Yong Star homestay, Bho Hin farmstay, Kho Libong homestay, and Kho Muk homestay. The data were collected using in-depth interviews, a sharing forum, and a questionnaire. From the results, the sustainability of coastal community-based ecotourism could be considered from an output/outcome dimension. There were agreements between the evaluation results for both communities and tourists. From the total score of 5.00, ranking of the overall sustainability was at the high level (X- = 4.04 and 3.82, respectively) along with the effectiveness of tourism management in the community (X- = 4.01 and 3.78, respectively), and the impact of tourism management on the community (X- = 4.06 and 3.85, respectively). However, these sustainability levels were affected by three dimensions: context, communities social capital and process dimensions.thaMahidol University.ความยั่งยืนของการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่งsustainable tourismcoastal community-based ecotourismความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่งจังหวัดตรังSustainability Indicators of Coastal Community-Based in Trang ProvinceArticleKasetsart University