Suchart nawagawongSayam AroonsrimorakotNatthapornthep Chankhun2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Sustainable Environment Planning))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95195Sustainable Environment Planning (Mahidol University 2014)Evaluation of Wood Chips Supplies for Electricity Generation a Case Study of Well Korat Very Small Power Plant Energy Production in Buriram Province is to investigate the quantitative potential of wood chips biomass from Eucalyptus in the study area, Buriram Province. The hypothesis of this study is set into two points that 1) Buriram Province is the place where Eucalyptus is cultivated widely in every district. 2) Wood chips biomass in Buriram Province is sufficient for power production in Wellcorat Energy Company. The purposive sampling was applied in the study area of 23 districts for 115 plots. According to wood age, the findings were that Group 1, 2-year-old planting Eucalyptus produced 6,283.70 tons of wood chips; Group 2, 3-year-old planting Eucalyptus produced 11,112.69 tons of wood chips; Group 3, 5-year-old planting Eucalyptus produced 8,405.51 tons of wood chips totally 25,801.90 tons. These results provide further support for the hypothesis item (1) that the case study of Well Korat Energy Company is very small power plant with 9.0 MW burning wood chips as biomass of 127,750 tones/year. The result of study was found that all groups of Eucalyptus age (2, 3, and 5 years old) can provide wood Chip biomass only 25,801.59 tones/year or 17 % of total demand and can be used for power production 74 days only. Wood chip biomass shortage takes high risk. So the second hypothesis is rejected. Quantitative analysis was found that total biomass was 25,801.90 m3. Raw material security analysis revealed that wood chip biomass power plant takes high risk on raw material shortage. Therefore, additional raw material should be procured from another province.การประเมินศักยภาพชีวมวลไม้สับเพื่อการผลิตไฟฟ้า กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก บริษัท เวลล์โคราช เอ็นเนอยี่ จำกัด จังหวัดบุรีรัมย์เป็นการศึกษาศักยภาพเชิงปริมาณวัตถุดิบชีวมวล ประเภทไม้สับซึ่งทำมาจากไม้ยูคาลิปตัสในพื้นที่การศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานการ วิจัยไว้ 2 ประเด็น คือ (1) จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ปลูกยูคาลิปตัสกระจายอยู่ทุกอำเภอ (2) ชีวมวลไม้ สับ (Wood Chips) ในจังหวัดบุรีรัมย์เพียงพอที่จะใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าบริษัท โค ราชเวลล์ เอ็นเนอยี จำกัด ผู้วิจัยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแปลงปลูกไม้ยูคาลิปตัสแบบเฉพาะเจาะจง โดยทำการสำรวจในพื้นที่การศึกษาทั้งหมด 23 อำเภอ จำนวน 115 แปลง แยกกลุ่มตามอายุไม้ยูคา ลิปตัสพบว่า กลุ่มที่1ไม้ยูคาลิปตัสอายุการปลูก 2 ปีมีปริมาณไม้สับจำนวน 6,283.70 ตัน, กลุ่มที่ 2 ไม้ยูคาลิปตัสอายุการปลูก 3 ปีมีปริมาณไม้สับจำนวน 11,112.69 ตัน, กลุ่มที่ 3 ไม้ยูคาลิปตัสอายุ การปลูก 5 ปี มีปริมาณไม้สับจำนวน 8,405.51 ตัน รวมปริมาณไม้สับทั้งสิ้น 25,801.90 ตัน ผล การศึกษาเป็นไปตาม (สมมติฐานข้อ 1,2) โรงไฟฟ้าบริษัทเวลล์โคราชเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด เป็น โรงไฟฟ้าขนาดเล็กมีขนาดกำลังการผลิต 9.0 เมกะวัตต์ ใช้ชีวมวลไม้สับเป็นวัตถุดิบในการผลิต กระแสไฟฟ้าจำนวน 127,750 ตัน/ปี จากผลการศึกษาไม้ยูคาลิปตัสกลุ่มอายุ 2 ปี 3 ปี และ 5 ปี สามารถนำมาผลิตเป็นไม้สับได้จำนวน 25,801.90 ตันคิดเป็นปริมาณวัตถุดิบ 17 เปอร์เซ็นต์ สามารถนำวัตถุดิบไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียง 74 วันซึ่งมีความเสี่ยงสูงด้านการขาด แคลนวัตถุดิบ (ไม่เป็นไปตามสมมุติฐานข้อ,2) การประเมินศักยภาพความมั่นคงด้านวัตถุดิบจาก การวิเคราะห์ทำให้ทราบว่าโรงไฟฟ้าชีวมวลไม้สับมีความเสี่ยงสูงด้านการขาดแคลนวัตถุดิบต้องหา แหล่งวัตถุดิบเพิ่มจากจังหวัดอื่นxiii, 94 leaves : ill. (some col.)application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าBiomass energy -- Thailand -- BuriramElectricityEvaluation of wood chips supplies for electricity generation : a case study of well corat very small power plant energy production in Buriram provinceการประเมินศักยภาพชีวมวลไม้สับเพื่อการผลิตไฟฟ้า กรณีศึกษา : โรงงานขนาดเล็ก บริษัท เวลล์ โคราช เอ็นเนอยี่ จำกัด จังหวัดบุรีรัมย์Master ThesisMahidol University