กิตติ โพธิปัทมะสมโภชน์ น้อยจินดาพรรทิภา ทองพวงวลีรัตน์ วัฒนชลทิศลือพล ปุณณกันต์กรวิศฎ์ ณ ถลางLuepol PunnakantaBodhipadma, K.Noichinda, S.Tongpuang, P.Wattanachonlatit, W.Punnakanta, L.Nathalang, K.มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์.2015-09-192019-12-232015-09-192019-12-232015-09-192555วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. ปีที่ 43, ฉบับที่ 2 พิเศษ (2556), 641-644.https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48480Shoot proliferation from nodal segment and plantlet acclimatization of creeping daisy were studied. Nodal explants had been cultured for 4 weeks on semi-solid MS medium supplemented with 0, 2 and 3% sucrose in aseptic and under light exposure conditions. It was found that MS medium containing 3% sucrose gave the highest number of shoot per node at 1.70. When nodal explants were placed on MS medium consisted of 3% sucrose and 0.5, 1 and 2 mg/L benzyladenine (BA) for 4 weeks, the result showed that medium comprised 3% sucrose and 1 mg/L BA was able to induce the maximum number of shoot per node at 6.15. For root induction, 4-week-old shoots initiating on those 3 media were isolated and transferred to MS basal medium. After 4 weeks culturing, the greatest number of root per shoot at 6.40 were obtained from the separated shoots that had been previously initiated on MS medium fortified with 3% sucrose and 1 mg/L BA. This preceding medium also provided the best survival percentage of plantlet (90%) after acclimatization. Keywords: acclimatization, creeping daisy, nodal culture, shoot proliferation :ศึกษาการเพิ่มจำนวนยอดใหม่จากชิ้นส่วนข้อและการปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมของต้นกระดุมทองเลื้อย ชิ้นส่วนข้อถูกนำมาเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 4 สัปดาห์ บนอาหารกึ่งแข็งสูตร MS ที่เติมซูโครส 0, 2 และ 3% ในสภาวะปลอดเชื้อ ภายใต้แสง พบว่าอาหารสูตร MS ซึ่งมีซูโครส 3% ให้จำนวนยอดต่อข้อดีที่สุดคือ 1.70 ยอด เมื่อนำชิ้นส่วนข้อมาวางบนอาหารสูตร MS ที่มีซูโครส 3% และ benzyladenine (BA) 0.5, 1 และ 2 mg/L เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฏว่าอาหารสูตร MS ซึ่งมีซูโครส 3% และ BA 1 mg/L สามารถชักนาให้เกิดจานวนยอดต่อข้อมากที่สุดคือ 6.15 ยอด สาหรับการชักนำให้เกิดรากทำได้โดยการย้ายยอดอายุ 4 สัปดาห์ ซึ่งเกิดจากอาหารเพาะเลี้ยง 3 สูตร ดังกล่าว ไปยังอาหารสูตร MS ภายหลังเพาะเลี้ยง 4 สัปดาห์ พบจำนวนรากต่อยอดมากที่สุดคือ 6.40 ราก จากยอดที่ถูกตัดมาจากอาหารสูตร MS ที่เติมซูโครส 3% และ BA 1 mg/L ซึ่งอาหารสูตรนี้ยังให้ร้อยละของพืชที่รอดชีวิตได้ดีที่สุด (90%) ภายหลังการปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมthaMahidol University.การปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมกระดุมทองเลื้อยการเพาะเลี้ยงข้อการเพิ่มจานวนยอดใหม่acclimatizationcreeping daisynodal cultureshoot proliferationIn Vitro Shoot Proliferation and Plantlet Acclimatization of Creeping Daisyการเพิ่มจำนวนยอดใหม่ในขวดแก้วและการปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมของต้นกระดุมทองเลื้อยArticle