เบญจวรรณ ธงภักดิ์ ปราบภัยกัลยกร พิบูลย์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-022021-09-022564-09-022561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63451ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 207การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายเพื่อทดแทนการขาดสาร น้ำ หรือเกลือแร่ในร่างกายของผู้ป่วยเป็นบทบาทหนึ่งของพยาบาล โดยต้องมี การตรวจสอบชนิด ปริมาตร อัตราการไหล และเวลาของการให้สารน้ำให้มี ความถูกต้องตามแผนการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการให้สารน้ำ การตรวจสอบปริมาณสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับทุก 1 – 2 ชั่วโมง ในแต่ละ ครั้งพยาบาลต้องใช้เวลาในการคำนวณจากปริมาตรที่เริ่มต้น เวลาเริ่มให้ และ อัตราการไหลของสารน้ำตามแผนการรักษา ซึ่งเวลาที่ใช้ในการตรวจสอบโดย เฉลี่ยประมาณ 3 นาที/ ครั้ง และอาจเกิดความผิดพลาดจากการคำนวณได้ Infusion Visual Compass เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการตรวจสอบ ปริมาณ และระยะเวลาในการให้สารน้ำได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำ เพื่อลด อุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และลด ระยะเวลาในการตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพthaมหาวิทยาลัยมหิดลInfusion visual compassperipheral intravenous infusionInfusion Therapy Safetyสารน้ำทางหลอดเลือดดำInfusion Visual CompassProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล