Thienchai NgamthipwatthanaSucheera PhattharayuttawatSantipap Nanthasarn2024-01-112024-01-11201720242017Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92367Clinical Psychology (Mahidol University 2017)This quasi experimental research aimed to examine the effect of positive psychology activities on psychological capital and depression among female adolescents. Subjects were 24 female adolescents aged between 15 - 18 years who live in Rajvithi home. The study employed Randomized Controlled Trial design. The experimental group was received positive psychology activities for 8 consecutive weeks (1 hour/week). Subjects' psychological capital and depression were assessed by Thai Psychological Capital inventory and Center for Epidemiologic Studies-Depression scale in pre-test, posttest, and a follow-up after a month. The data were analysed using nonparametric statistics. After participating in the positive psychological activities, there was a significant difference among hope and optimism components between the experimental group's pretest and post-test (p<0.05). However, the score of the self-efficacy resilience and depression in pre-test, post-test, and follow up period were not significantly different. Depression scores tended to decrease in the follow up period. These finding suggest the positive psychology activities is a useful way to develop hope and optimism in female adolescence. Future study should modify these positive psychology activities to another ages, gender and setting.การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกต่อต้นทุนทางจิตวิทยา และภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นหญิงในสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถี เป็นวิจัยแบบกึ่งทดลองชนิดศึกษาสองกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นหญิงอายุ 15 - 18 ปี ที่อาศัยในสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีโดยคัดเลือกแบบเจาะจง ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลอง 12 คนและกลุ่มควบคุม 12 คน กลุ่มทดลองจะเข้าร่วมกิจกรรม สัปดาห์ละครั้ง ทั้งหมด 8 ครั้งละ 1 ชั่วโมงกลุ่มควบคุมจะไม่ได้รับการจัดกิจกรรม วัดต้นทุนทางจิตวิทยาด้วยแบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทยและประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นโดยประเมินในช่วงก่อน หลังทดลอง และติดตามผล 1 เดือน วิเคราะห์ผลด้วยสถิติ Nonparametric test พบว่าเมื่อ สิ้นสุดการทดลอง กลุ่มทดลองมี 8 คน กลุ่มควบคุมมี 9 คน พบว่ากลุ่มทดลองมีต้นทุนทางจิตวิทยาในด้านการมีความหวังและการมองโลกในแง่ดีเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในภาวะซึมเศร้าในช่วงก่อนการทดลองพบว่ามีกลุ่มทดลองสองคนมีภาวะซึมเศร้า โดยเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนภาวะซึมเศร้าก่อนและหลังพบว่ามีแนวโน้มลดลง แต่ไม่พบความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลวิจัยได้พบว่ากิจกรรมตามแนวคิดเชิงจิตวิทยาเชิงบวก สามารถพัฒนาต้นทุนทางจิตวิทยาในด้านการมีความหวัง และการมองโลกในแง่ดีของวัยรุ่นหญิงได้ix, 142 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าHuman capital -- Psychological aspectsDepressionPositive psychologyEffects of positive psychology activities on psychological capital and depression among female adolescents in Rajvithi Home for girlsผลของการจัดกิจกรรมตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกต่อต้นทุนทางจิตวิทยาและภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นหญิงในสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีMaster ThesisMahidol University