บังอร เทพเทียนปรินดา ตาสีปิยฉัตร ตระกูลวงษ์สุภัทรา อินทร์ไพบูลย์มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน2017-06-272017-06-272017-06-272551วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 6, ฉบับที่ 2 (2551), 25-381905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2370วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับครอบครัวเข้มแข็ง วิธีการ : ดำเนินการสำรวจครัวเรือนในทุกภาคของประเทศไทย โดยใช้วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน จำนวนครัวเรือนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 4,778 ครัวเรือน การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์โดย พนักงานสัมภาษณ์ที่เป็นบุคคลในพื้นที่และได้รับการอบรมจากผู้ควบคุมภาคสนามมาแล้วเป็นอย่างดี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Logistic Regression ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษา : พบว่าครอบครัวที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ทางเศรษฐกิจ (มีความสมดุลทางรายได้ กับรายจ่าย) และครอบครัวที่สมาชิกในครัวเรือนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน (มีการพูดคุยปรึกษาหารือกัน เอื้ออาทรต่อกัน และมีกิจกรรมร่วมกันทั้งในและนอกครัวเรือน) รวมทั้งเป็นครอบครัวที่มีอารมณ์ร่าเริง แจ่มใส ไม่ดื่มสุรา และมีหลักประกันในชีวิต ปัจจัยที่กล่าวมานี้มีความสำคัญต่อครอบครัวเข้มแข็ง ในสังคมไทย อย่างไรก็ตามครอบครัวเข้มแข็งค่อนข้างเป็นนามธรรมอยู่มากObjective: To examine factors related to healthy families Method: Survey sampling data was taken from 4,778 families in every part of Thailand selected by using a multistage random sampling. Data was collecting by local interviewers who were well-trained by the field supervisor for this study. Logistic Regression statistic was used to analyze the data. Result: The study showed a significant relationship between healthy families and certain factors. These factors included economic self-dependency (ability to manage income and expenses), good relation in the family (family members love each other are self-revealing through communication, give praise, listen, do activities together and take care of each other frequently, both in their own family and in their community), cheerfulness family, no alcoholic consumption in the family and a family that has life security. These above factors contribute to a healthy family in Thailand. However, the concept of a healthy family was mostly intangible.thaมหาวิทยาลัยมหิดล.การพึ่งตนเองได้Self dependencyสัมพันธภาพในครอบครัวFamily relationshipการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงAvoid risk factorsการปรับคัวเองได้ในภาวะยากลำบากSelf-adaption in crisis circumstanceต้นทุนทางสังคมSocial capitalOpen Access articleวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาJournal of Public Health and Developmentปัจจัยที่สัมพันธ์กับครอบครัวเข้มแข็งFactors Related To Healthy FamiliesResearch Articleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล.