กิตติ ไชยลาภมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน2017-06-132017-06-132017-06-132546วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 1, ฉบับที่ 1 (2546), 49-571905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2016สำหรับประชาชนทั่วไป อาจคิดว่าความปวดเมื่อยของคนงานโรงงานอุตสาหกรรมไม่แตกต่างจากคนปกติ อย่างไรก็ตาม บทความชิ้นนี้ต้องการจะนำเสนอให้เห็นว่า ความปวดเมื่อยของคนงานที่เกิดขึ้นภายใต้กระบวนการแรงงานนั้น มีความจำเพาะเจาะจง มีความสัมพันธ์กับหรือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแรงงาน ภายใต้แนวคิดเศรษฐศาสตร์ การเมือง ผู้เขียนได้ใช้ข้อมูลการวิจัยความปวดเมื่อยคนงานภายใต้บริบทของกระบวนการแรงงานโรงงานอุตสาหกรรม กระป๋องแห่งหนึ่งของจังหวัดในเขตปริมณฑลภาคกลาง ซึ่งผู้วิจัยได้เข้าไปเก็บข้อมูลระหว่างช่วงปี พ.ศ.2542-2543 เพื่อสนับสนุนต่อประเด็นที่กล่าวมาข้างต้น รวมทั้งเป็นการเสนอทางเลือกใหม่ สำหรับการอธิบายและแก้ไขปัญหา ความปวดเมื่อยของคนงานไทย ดังรายละเอียดthaมหาวิทยาลัยมหิดลแรงงานโรงงานOpen Access articleJournal of Public Health and Developmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนากระบวนการแรงงานกับความปวดเมื่อยของคนงานโรงงานผลิต สับปะรดกระป๋องแห่งหนึ่ง ภายในจังหวัดพื้นที่เขตปริมณฑลภาคกลางArticleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล