ถนอมศรี ศรีชัยกุลTanomsri Srichaikulมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์2022-10-052022-10-052565-10-052554รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2554), 126-1310125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79822พรบ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ประชาชนน่าจะได้ประโยชน์และอาจทำให้วงการแพทย์ไทยฟื้นตัวขึ้น จึงเกิดความสนใจและศึกษา ซึ่งขอสรุปผลดังนี้ จุดมุ่งหมายของ พรบ. ฉบับนี้ มี 4 ประการคือ ต้องการชดเชยค่าเสียหายจากการบริการทางการแพทย์แก่ผู้เสียหายอย่างรวดเร็ว โดยจัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อชดเชยความเสียหายนั้นๆ ผู้ป่วยได้ประโยชน์จาก พรบ. ฉบับนี้ เพราะได้เงินชดเชยเร็วขึ้นโดยมาตรฐานบริการทางการแพทย์มิได้ลดลง จะช่วยลดการฟ้องร้องระหว่างผู้ป่วยและแพทย์ให้น้อยลง เป็นการสร้างความสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้รับ (ผู้ป่วย) และผู้ให้บริการ (แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์) พรบ. ฉบับนี้ มี 7 หมวด และ 50 มาตรา จากการอ่านพิจารณาในฐานะแพทย์มีความเห็นว่า พรบ. นี้มีข้อบกพร่องหลายประการที่จะนำไปสู่ความเสียหายแก่แพทย์และการสาธารณสุขของชาติ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในภาวะใกล้ล่มสลาย ความวกวน ไม่กระจ่างชัด ขัดแย้งกันเอง ทำให้ พรบ. นี้ไม่สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้thaมหาวิทยาลัยมหิดลพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข (ฉบับรัฐบาล) - กระจกสะท้อนสถานภาพวิกฤติของสถาบันแพทย์และสาธารณสุขไทย ปัญหาที่ต้องสนใจและแก้ไขโดยด่วนArticleภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล