Noppadol WanichworanantTanasanee PhienthrakulMingmanas SivaraksaNavapon Ngamworarojsakul2024-01-112024-01-11201720172024Thematic Paper (M.Eng. (Computer Engineering))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92429Computer Engineering (Mahidol University 2017)Digitalism has influenced people's lives in decades and almost in all aspects. Many products and services have been developed to become more digital, which significantly facilitate and benefit humans' lives. These products or services include smartphones, cloud storage services, and digital cameras. Undoubtedly, there are advantages and disadvantages to everything. For instance, the digitalization may create unfavorable results when people try to recover their images, in which there is a possibility that the images will be corrupted, either due to a lack of details or other factors. Accordingly, this research emphasized on this particular issue. Concerning the aforementioned issue, the researcher intended to develop an application to solve non-displayable images using the method of genetic algorithm. This particular method has the ability to solve damaged image files with either normal or high severity. The experiment was conducted to identify the optimal values of related parameters in the genetic algorithm, which contributed to the increase in the application's performance and consequently led to the recreation of corrupted images that are viewable.ในปัจจุบันรูปภาพที่เป็นไฟล์ดิจิตอลนั้นมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากทุกคนสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ที่ใช้ถ่ายรูปภาพทางดิจิตอลได้อย่างแพร่หลายไม่ว่าจะเป็น กล้องถ่ายรูป หรือ สมาร์ทโฟน และจากการใช้งานอย่างแพร่หลายนี้เอง ที่ทำให้ผู้ใช้งานประสบปัญหาที่รูปภพไม่สามารถเปิดใช้งานได้ทำให้ไม่สามารถที่จะดูไฟล์รูปภาพที่เสียหายเหล่านั้นได้ ซึ่งปัญหาดังกล่าวนั้นอาจส่งผลส่งต่อการใช้ประโยชน์จากรูปภาพเช่น ทางการแพทย์ หรือ การสืบสวนสอบสวนคดีความ เป็นต้น ซึ่งในกรณีทางการสืบสวนสอบสวนคดีนั้น ข้อมูลที่จะได้จากรูปภาพนั้นมีความสำคัญทุกๆ รูปภาพ โดยหากประสบปัญหาที่ไม่สามารถเปิดรูปภาพดูได้นั้นอาจจะทำให้พลาดข้อมูลที่อาจใช้เป็น เงื่อนงำ หรือ หลักฐาน ในการสืบสวนสอบสวนคดีได้ จากสาเหตุข้างต้นจึงเป็นที่มาในการดำเนินงานวิจัยนี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันที่ ช่วยในการแก้ไขปัญหาไฟล์รูปภาพไม่สามารถเปิดได้ โดยมีการใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาในกรณีที่ไฟล์รูปภาพมีความเสียหายเป็นอย่างมาก และใช้วิธีแก้ไขโดยการคำนวณในกรณีที่ไฟล์รูปภาพไม่ได้เสียหายอย่างรุนแรง และในงานวิจัยนี้ได้มีการทำการทดลองเพื่อหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในขั้นตอนวิธีพันธุกรรม เพื่อให้แอปพลิเคชันมีประสิทธิภาพที่ดี ซึ่งผลลัพธ์คือแอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้นนั้นสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ix, 47 leaves : ill. (some col.)application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าImage processing -- Digital techniquesGenetic algorithmsImage recovery employed genetic algorithmการกู้คืนภาพโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมMaster ThesisMahidol University