พชร สุวรรณภาชน์ชิตชยางค์ ยมาภัยจิรัฐ มัธยมนันทน์2024-01-222024-01-22255725672557วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93469วัฒนธรรมและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2557)งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาเรื่อง การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการผลิตสร้างสรรค์บทเพลงไทยสมัยนิยมของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด(มหาชน) ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยาดนตรีวิทยา ที่เน้นข้อมูลในทุกด้านและการอธิบายเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า เทคโนโลยีดิจิตอลส่งผลต่อการผลิตและสร้างสรรค์เพลงของ บริษัท จีอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) การผลิตเพลงของแกรมมี่เข้าสู่ระบบดิจิตอล ทำให้กระบวนการผลิตและสร้างสรรค์เพลงของแกรมมี่ได้มีการปรับเปลี่ยนจากเมื่อก่อนไปเป็นอย่างมาก ข้อดีของการผลิตเพลงในระบบดิจิตอลในหลายๆด้าน เช่น การทำงานที่รวดเร็ว อุปกรณ์ในการทำงานมีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง กระบวนการขั้นตอนการทำงานที่สั้นลง คุณภาพที่สูงขึ้น เหล่านี้เป็นต้น ล้วนได้ส่งผลดีต่อการผลิตและการทำงานในหลายด้านของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ปรากฎการณ์ต่างๆ เหล่านี้ ล้วนส่งผลต่อกระบวนการผลิตและสร้างสรรค์เพลงของแกรมมี่ด้วย ทำให้แกรมมี่ต้องปรับเปลี่ยนทั้งในส่วนของคนทำงานด้านการผลิตและสร้างสรรค์เพลง และในด้านขององค์กรโดยรวม เพื่อให้ทันรับกับสภาพสังคมวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป รวมทั้งก้าวทันเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็วด้านการตลาด ทำใช้เกิดช่องทางในการขายสินค้าขององค์กรได้มากมายมายมากขึ้น มีการขยายคอนเท้นท์ในเชิงธุรกิจที่หลากหลายมากขึ้นในขณะที่ต้นทุนการผลิตต่อจำนวนสินค้ากลับลดลงอย่างมากองค์กรสามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นกว่าเดิมในระเวลาที่เท่ากัน มีความหลากหลายของสินค้าที่มากกว่าแต่ก่อนThis research aims to study the digitalization of GMM Grammy (PLC) Thai popular song production. Anthropological and musicological methods, as well as analytical description were utilized to obtain data in all aspects. The results suggested that digitalization in fact had some effects on GMM Grammy (PLC) song creation and production. It also indicated that since the digital system was used for song production, GMM song creation and production has changed a great deal. The digital system has brought various advantages, including minimized equipment, lower cost, shorter process yet higher qualities. It is convenient those involved in production. These phenomena mutually affected GMM song creation and production in a way that GMM had to make adjustment to its production personnel and the overall organization in order to conform to the changing society and culture, and to meet the rapidly developed technology. According to marketing, digitalization allowed more channels for the products to be bought, while the production cost per unit decreased dramatically. A firm could produce more products within the same period of time as in it previously did, and there was more variety of products than before. It can be concluded that technology plays an important role in changing society and its culture as revealed by the case study of GMM Grammy Ltd., Co.[ก]-ฑ, 197 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าเพลงไทยดนตรีสมัยนิยม -- ไทยการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการผลิตบทเพลงไทยสมัยนิยมของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)Digitalization of GMM Grammy (PLC) Thai popular song productionMaster Thesisมหาวิทยาลัยมหิดล