กานดา ธีระวัฒนศิริKanda Theerawadtanasiri2023-12-272023-12-272566-12-272564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91587ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 180ในการผ่าตัดที่ต้องมีการจัดผู้ป่วยท่านอนตะแคง (Lateral position) ได้แก่ การผ่าตัดปอด ไต การผ่าตัดกระดูกและข้อบางชนิด เช่น Total hip arthroplasty เป็นต้น การจัดท่านอนตะแคงทำให้พื้นที่บริเวณผ่าตัดแคบ มัก พบปัญหาเครื่องมือผ่าตัดตกหล่น ในเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม2562 สถิติ จานวนผู้ป่วยผ่าตัดในท่าตะแคง 45 รายพบเครื่องมือผ่าตัดตกหล่น 36 รายคิด เป็น 80% ก่อให้เกิดผลกระทบ ดังนี้ เครื่องมือผ่าตัดเกิดความเสียหาย เครื่องมือผ่าตัดบางชนิดมีลักษณะบอบบางและมีราคาแพง และบางชนิดมีแค่ เพียงชิ้นเดียว ต้องเสียเวลานำไปทำให้ปลอดเชื้อก่อนนากลับมาใช้ใหม่ ทำให้ การผ่าตัดต้องหยุดชะงักโดยเฉพาะหากอยู่ในภาวะเร่งด่วนอาจก่อให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยต่อชีวิตของผู้ป่วย จากการจัดท่านอนตะแคงนี้ ทำให้มีพื้นที่บนตัว ผู้ป่วยค่อนข้างแคบทาให้เครื่องมือผ่าตัดตกหล่นระหว่างการผ่าตัด ในทาง ปฏิบัติเดิมได้นำผ้าที่ใช้ในการผ่าตัดพับให้มีลักษณะเป็นกระเป๋าใส่เครื่องมือ แต่พบว่าระหว่างชั้นของผ้ายังคงมีช่องว่างที่เครื่องมือตกหล่นได้ จึงได้ประดิษฐ์ “Saddle bag” กระเป๋าเครื่องมือผ่าตัดสำหรับใช้ในการเก็บเครื่องมือระหว่าง ทาผ่าตัดผู้ป่วยในท่าตะแคง เพื่อความสะดวกและไม่เป็นอุปสรรคต่อการผ่าตัดapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าท่านอนตะแคงLateral positionผ่าตัดผู้ป่วยเครื่องมือผ่าตัดMahidol Quality Fairกระเป๋าเครื่องมือผ่าตัดSaddle bagProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล