Bunlur EmaruchiPanya KaimukKatika Srithong2024-02-072024-02-07201120112011Thematic Paper (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2011https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95002Technology of Information System Management (Mahidol University 2011)งานวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินพื้นที่เหมาะสมใน การปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันในจังหวัดพังงา ซึ่งทำการวิเคราะห์โดยใช้ปัจจัยทางกายภาพของพื้นที่ และทางอุตุนิยมวิทยามาวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ประกอบด้วย ความลาดชัน, ความลึกของหน้าดิน, เนื้อดิน, การระบายน้ำ, การใช้ประโยชน์ที่ดิน, ปริมาณน้ำฝน, อุณหภูมิ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยให้ค่าคะแนนน้ำหนักแสดงความเหมาะสมของปัจจัยและค่า น้ำหนักคะแนนระดับของปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชทั้งสองชนิด ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพังงา เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ ไม่เหมาะสม สำหรับการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมัน โดยพื้นที่เหมาะสมในการปลูกยางพารา พบว่า มีพื้นที่ ศักยภาพสูงร้อยละ 1.94 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ศักยภาพปานกลางร้อยละ 23.13 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ศักยภาพน้อยร้อยละ 3.12 ของเนื้อที่ทั้งหมด และมีพื้นที่ศักยภาพไม่เหมาะสมร้อยละ 71.81 ใน ส่วนของพื้นที่เหมาะสมในการปลูกปาล์มน้ำมัน พบว่า มีพื้นที่ ศักยภาพสูงร้อยละ 5.36 ของเนื้อที่ ทั้งหมด พื้นที่ศักยภาพปานกลางร้อยละ 2.59 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ศักยภาพน้อยร้อยละ1 9.85 ของเนื้อ ที่ทั้งหมด และมีพื้นที่ศักยภาพไม่เหมาะสมร้อยละ7 1.82 ของพื้นที่ทั้งหมดxiii, 69 leaves : col. ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAgriculture -- Remote sensingAgricultural mappingGeographic information systemsOil Palm -- Thailand -- Phang-NgaRubber -- Thailand -- Phang-NgaSuitability assessment for oil palm and para rubber planting in Phang-Nga provinceการเปรียบเทียบพื้นที่เหมาะสมในการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันMaster ThesisMahidol University