กมลวรรณ ลีนะธรรมแคทรียา จิรนรวัฒน์ธนิษฐา อามาตย์สุทธิดา ผาสุขKamolwan LeenatomCathariya JiranorrawatThanittha ArmartSuthida Phasukมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานการพยาบาลสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา2022-09-302022-09-302565-09-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79765ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 140สตรีที่คลอดบุตรทางช่องคลอดส่วนใหญ่มักเกิดการบาดเจ็บของ ช่องทางคลอดและก่อให้เกิดความเจ็บปวดตามมา ซึ่งสาเหตุการบาดเจ็บของ ช่องทางคลอดเกิดได้จากการฉีกขาดที่เกิดขึ้นเอง หรือการตัดฝีเย็บ (Law&Sullivan, 2009) มารดาขณะอยู่โรงพยาบาลต้องได้รับความรู้และการ ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดแผลฝีเย็บแยก,แผลมี Slough จากการสอบถาม พบว่ามารดาไม่กล้าทำความสะอาดแผลและทำไม่ครบทุกขั้นตอน การให้ ข้อมูลอย่างมีแบบแผน มีความสำคัญในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ หอผู้ป่วยจึงสร้างแนวทางการดูแลมารดาที่มีแผลฝีเย็บอย่างมีแบบแผน เพื่อ สื่อสารเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งผลลัพธ์ พบว่าอัตรามารดาหลังคลอด สามารถดูแลแผลฝีเย็บได้ถูกต้องตามหลักการก่อนกลับบ้านคิดเป็น ร้อยละ 100 อัตราบุคลากรสามารถปฎิบัติตามแบบแผนในการแนะนำการดูแลแผล ฝีเย็บแก่ผู้ป่วยคิดเป็น ร้อยละ 100 จำนวนมารดาหลังคลอดที่มีแผลฝีเย็บแยก ในโรงพยาบาล คิดเป็น 0 ราย และจำนวนมารดาหลังคลอด Readmit จาก แผลฝีเย็บแยกคิดเป็น 0 รายthaมหาวิทยาลัยมหิดลแผลฝีเย็บมารดาหลังคลอดการทำความสะอาดMahidol Quality Fairเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลแผลฝีเย็บในมารดาหลังคลอดProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล