สุภาวดี พันธุมาศธาม เชื้อสถาปนศิริยุวดี สารบูรณ์ศิริรัตน์ อินทรเกษมณฐกมล ผดาเวชรพีพรรณ สารสมัครจีรศักดิ์ เพิ่มฉลาดวาทินี สุนทราเรืองอุไร อมรไชยมหาวิทยาลัยมหิดล. โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว2022-07-132022-07-132565-07-132564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72121ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 6นวัตกรรมบูรณาการเรียนร่วมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ เป็น ต้นแบบแนวคิดบูรณาการการเรียนในลักษณะเรียนร่วมกันทันที (4i: integrate, inclusion, instantly, innovation) สำหรับผู้เรียน-ผู้สอนจาก สาขานวัตกรรม-เกษตร-สาธารณสุข ขจัดความซ้ำซ้อน ความไม่สัมพันธ์ และ ความไม่ต่อเนื่อง ให้ผู้เรียนได้มองเห็นภาพรวมของความรู้ เกิดการเรียนรู้โดย องค์รวม (Cognitive-Skill-Affective) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ได้จริงทันทีผ่านกิจกรรมโจทย์ปัญหา(วิชาการ-วิชาชีพ-วิชาชีวิต) ลดภาระผู้สอน-ผู้เรียน ทำน้อยแต่ได้มาก จัดในปีการศึกษา 2/2563 เพื่อ พัฒนาศักยภาพผู้สอน-ผู้เรียน ผลการประเมิน ด้านผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยรวม ศักยภาพทุกด้านอยู่ในระดับมากขึ้นไป ได้แก่ ทักษะศตวรรษที่ 21 (4.10+0.81) ความผูกพัน (4.11+0.81) ความมีคุณค่าในตนเอง (4.06 +0.78) และความพึงพอใจต่อโครงการ (4.02+0.83) ตามลำดับนวัตกรรม 4i เกิดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ได้จริงมากกว่าการเรียนรูปแบบเดิม ด้าน ผู้สอนระบุว่ามีศักยภาพต่อการสอนแบบบูรณาการเพิ่มขึ้นมาก เกิดแนวทาง ใหม่ๆ ในการจัดระบบสนับสนุนความรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน เสนอให้ พัฒนาเป็นรายวิชาของวิทยาเขตฯ และขยายกลุ่มเป้าหมายต่อไปthaมหาวิทยาลัยมหิดลนวัตกรรมการเรียนรู้บูรณาการเรียนร่วมกระบวนการคิดเชิงออกแบบDesign ThinkingMahidol Quality Fairนวัตกรรมบูรณาการเรียนร่วมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ : กรณีศึกษาการพัฒนาผู้สอน-ผู้เรียน ของวิทยาเขตอำนาจเจริญ (2/63) ผ่านการบูรณาการสหสาขาวิชา (นวัตกรรม-เกษตรสุขภาพ)Integration and Inclusion for Innovation by Design ThinkingProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล