ปิยะธิดา นาคะเกษียรPiyatida Nakagasienมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์2018-08-102018-08-102561-08-102559วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 33, ฉบับที่ 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 2558), 6- 14https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/21962การสร้างเสริมสุขภาพ คือ กระบวนการที่ช่วยส่งเสริมให้มนุษย์สามารถควบคุมและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ดีขึ้น มีความผาสุกทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ทั้งในระดับบุคคล กลุ่มคน สามารถวิเคราะห์ ชี้ชัดได้ถึงแรงบันดาลใจ ความต้องการ รวมถึงความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม กฎบัตรออตตาวานับเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่หมายรวมถึงการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และการปรับระบบบริการHealth promotion is the process of enabling people to increase control over, and to improve their health. To reach a state of complete physical, mental and social well-being, an individual or group must be able to identify and to realize aspirations and needs, including capability to adapt with the environment. Ottawa charter is a crucial strategy of health promotion: build healthy public policy, create supportive environments, strengthen community action, develop personal skills and reorient health services.thaมหาวิทยาลัยมหิดลกฎบัตรออตตาวาบทบาทของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพวารสารพยาบาลศาสตร์Open Access articleJournal of Nursing Scienceกฎบัตรออตตาวากับบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพOttawa Charter: The Role of the Nurses in Health PromotionArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล