แฉล้ม จันทรศรีอนงค์ ปริยานนท์ศุภรวิทย์ พึ่งจิตต์ตนพิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุลวรัญญา แสงเพ็ชรส่องเฟื่องฟ้า อุตรารัชต์กิจประจวบ สังฆสุวรรณมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา.2016-02-242021-09-152016-02-242021-09-152559-02-112534https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63550เอกสารประกอบการประชุม การประชุมวิชาการสาธารณสุขแห่งชาติ ครั้งที่ 5 คุณภาพชีวิตไทยที่พึงปรารถนา: แนวทางการพัฒนาที่ยั่วยืน, วันที่ 18-20 ธันวาคม 2534 ณ โรงแรมเอเซีย กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2534. หน้า 257.การศึกษาทางน้ำเหลืองวิทยาต่อการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ และ เจอี ในเด็กนักเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 14 ปีลงมา ที่ตำบลท่าช้าง และหนองแขม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2531 จำนวน 209 ราย โดยใช้วิธี Hemagglutination Inhibition Rest พบว่าระดับแอนติบอดีต่อไวรัสเดงกี่ทัยป์ 3 ระดับเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 1:380 รองลงมาได้แก่ เดงกี่ทัยป์ 1 เท่ากับ 1:204, เดงกี่ทัยป์ 2 เท่ากับ 1:204 แลเดงกี่ทัยป์ 4 เท่ากับ 1:158 ตามลำดับ ส่วนระดับแอนติบอดีต่อไวรัส เจอี เท่ากับ 1:229 และพบว่าในจำนวนเด็กที่มีแอนติบอดีสูงดีนี้จะมีอายุสูงขึ้นด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนเด็กที่มีแอนติบอดีเฉพาะต่อไวรัสเดงกี่ทัยป์ 3 สูงถึงร้อยละ 32.0 ซึ่งเท่ากับไวรัส เจอี ด้วยส่วนเด็กที่มีแอนติบอดีต่อไวรัสเดงกี่ทัยป์อื่นๆนั้นพบเพียงเล็กน้อยแสดงว่าการระบาดครั้งนี้น่าจะเกิดจากไวรัสเดงกี่ทัยป์ 3 และไวรัสเจอีthaมหาวิทยาลัยมหิดลการติดเชื้อไวรัสเจอีไวรัสเดงกี่แอนติบอดีการศึกษาทางน้ำเหลืองวิทยาของการติดเชื้อไวรัสเดงกี่และเจอี ในเด็กนักเรียนที่ตำบลท่าช้าง และหนองแขม อ้ำภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 2531Proceeding Abstract