Kamol UdolPratana SatitvipaweePanom KetumarnJamabhorn Jaipakdee2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95264Epidemiology (Mahidol University 2014)This randomized controlled trial aimed to assess the effects of deep breathing and muscle relaxation techniques on systolic blood pressure (SBP), diastolic blood pressure (DBP), and stress in drug-naïve grade 1 hypertensive patients. The study was conducted in 4District Health Promoting Hospitals in Kosum Phisai District, MahaSarakham Province. The participants were randomly assigned into either intervention (n=62) or control group (n=62). All participants received 3 sessions of hypertensive education. Participants in intervention group received deep breathing and muscle relaxation training. They were then asked to self-practice at home for eight weeks. The primary outcomes of the study changed in SBP and DBP over the 8-week period. At 8-week follow-up, BP decreased in both groups [mean decrease in SBP5.3mmHg (SD10.9)in the intervention group and 3.9mmHg (SD9.8) in the control group, and both groups showed a mean decrease in DBP3.0mmHg (SD8.6) and 2.7mmHg (SD9.5), respectively].The magnitude of BP change was not statistically significantly different between the two groups (p 0.47 for SBP and 0.82 for DBP).The decrease in stress score was significantly greater in the intervention group [3.1 (SD 4.0)]than in the control group[1.8(SD3.2)] (p 0.045). Deep breathing and muscle relaxation practices is effective in reducing stress symptoms, but not BP, in hypertensive patientsการศึกษาเชิงทดลอง (Randomized controlled trial) เพื่อวัดผลการฝึกหายใจแบบลึกและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ยังไม่ได้กินยาลดความดันโลหิต ดาเนินการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จานวน 4 แห่ง กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มออกเป็นกลุ่มทดลอง 62 คน กลุ่มควบคุม62 คน ทุกคนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง3 ครั้ง แต่กลุ่มทดลองจะได้รับการฝึกหายใจแบบลึกและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จานวน 3 ครั้ง และฝึกปฏิบัติด้วยตนเองที่บ้านเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ตัววัดหลักคือการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยความดันโลหิตในเวลา 8 สัปดาห์ การศึกษาพบว่า หลังติดตาม 8 สัปดาห์กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบ (systolic) ลดลงเฉลี่ย 5.3 มม.ปรอท (SD=10.9) และ 3.9 มม.ปรอท (SD=9.8) ตามลาดับ ความดันช่วงหัวใจคลาย (diastolic) ลดลงเฉลี่ย 3.0มม.ปรอท (SD=8.6) และ 2.7มม.ปรอท (SD = 9.5) ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบ และคลายของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ลดลงไม่แตกต่างกัน (p = 0.47 และ 0.82 ตามลาดับ) ความเครียดกลุ่มทดลองลดลงเฉลี่ย 3.1คะแนน (SD=4.0) และ กลุ่มควบคุมลดลง 1.8คะแนน (SD = 3.2) ระดับความเครียดของกลุ่มทดลองลดลงมากกว่ากลุ่มอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ -1.3คะแนน (95% CI = -2.6, -0.03, p = 0.045)การฝึกหายใจแบบลึกและผ่อนคลายกล้ามเนื้อทาให้ลดความเครียดได้ix, 93 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าHypertensionRelaxationMuscle Relaxation.Effects of deep breathing and muscle relaxation on blood pressure and stress in hypertensive patientsผลของการฝึกหายใจแบบลึกร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อต่อระดับความดันโลหิตและความเครียดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงMaster ThesisMahidol University