โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์สุพร อภินันทเวชพิทยา จารุพูนผลมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว2017-06-262017-06-262017-06-262548วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 3, ฉบับที่ 3 (2548), 1-91905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2162จากการที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษา ทุกโรค โดยผู้มารับบริการสุขภาพ การรักษาโรค หรือภาวะใดๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความเจ็บป่วย จะเป็นผู้จ่ายเงิน 30 บาทต่อครั้งที่มารับบริการ ทั้งนี้ครอบคลุมถึงกระบวนการต่างๆ ในการรักษา และ การรับไว้เป็นผู้ปว่ ยใน นโยบายนี้เป็นที่นยิ ม ดงึ ดูด และกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมระบบการดูแลสุขภาพ ได้เป็นอย่างมาก การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง โดยศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ 59 คน ซึ่งดูแลโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคใน 59 โรงพยาบาล จาก 12 เขตรับผิดชอบสาธารณสุข ระหว่างเดือนกันยายนถึงธันวาคม พ.ศ. 2546 รวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นพยาบาลร้อยละ 65.5 แพทย์รอ้ ยละ 22.4 และเจ้าหน้าที่เวชกรรมสังคมร้อยละ 12.0 ผ้รู บั ผิดชอบ โครงการกล่าวว่ามีภาระงานมากขึ้นร้อยละ 82.5 โดยงานที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เป็นงานการบริหารจัดการ และงานเอกสาร ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้รับผิดชอบโครงการร้อยละ 45.8 มีผลต่อคุณภาพ ของงานร้อยละ 40.7 และมีผลต่อครอบครัวร้อยละ 27.1 ท้งั นี้รอ้ ยละ 9.3 ของผู้รบั ผิดชอบโครงการ ต้องการเปลี่ยนงาน และเกือบทั้งหมดเห็นพ้องกันว่าโครงการนี้อาจมีผลกระทบต่อการอยู่รอดของ โรงพยาบาล ด้านผลกระทบต่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพ พบว่ามีผลกระทบในระดับร้อยละ 21.1– 38.6 เช่น โอกาสการศึกษาต่อ การฝึกอบรม การวิจัย และการบริการวิชาการ ส่วนยาและเวชภัณฑ์ ส่วนใหญ่ยงั อยู่ในระดับเพียงพอโดยการเบิกจ่ายจากส่วนกลาง การศึกษาครั้งนี้ใช้เป็นแนวทางพื้นฐาน ในการปรับเปลี่ยนเพื่อการพัฒนาให้เกิดประสิทธิผลในการดำเนินโครงการต่อไปMinistry of Public Health (MOPH) has launched the universal coverage project known as 30 baht scheme which means every visit for any disease or condition related to health the patient only pay 30 baht to cover all process of treatment including hospitalization. This policy is very popular, attractive and stimulate innovation of care system. This cross-sectional study was conducted during September–December 2003 in 59 respondents who are project operators from 59 hospitals. The indept interview was also conducted. About 65.5% are nurses, 22.4% are physicians and 12.0% are social mediciny pursonnels. The respondents claimed 82.5% burden of work, mainly are administration and paper work which gave effects to health (45.8%), quality of work (40.7%) and family (27.1%) respectively. Only 9.3% would prefer to change their jobs and almost all agreed that this project might interfere the survival of the hospitals. The career path is somehow affected but still in the low level (21.1-38.6%) i.e. continuing education, training, research and public services. The drugs and medical suppliances are mentioned as adequate and are used as pools resources. This study is usefulness to be a fundamental and crucial direction to readjust the project for a better outcome.thaมหาวิทยาลัยมหิดลโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค30 baht schemeโรงพยาบาลHospitalผู้ป่วยคนไข้PatientsOpen Access articleวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาJournal of Public Health and Developmentโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ในมุมมองและทิศทางการจัดการของผู้รับผิดชอบโครงการResearch Articleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล