สายเกศ บัวสีมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2021-09-302021-09-302564-09-302561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63761ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 271ภาวะหลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ ( Phlebitis) เป็ นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้กับผู้ป่วย ในระหว่างการให้ยา สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลายเป็นเวลานาน จึงมีการพัฒนากระบวนการและมาตรฐานการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่ไห้ยา สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลายขึ้น เพื่อป้องกันภาวะ Phlebitis ระยะที่1 ขึ้น พ.ศ. 2558 -2559 และจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงที่จะเกิด Phlebitis ได้มากกว่าผู้ป่วยรายอื่นๆ คือ ผู้สูงอายุ อายุมากกว่า 55 ปี มีภาวะ Malnutrition คะแนน NAF>7 ผิวแห้ง ผิวบาง หลอดเลือดมีขนาดเล็ก และผู้ป่วยที่ผ่านการได้รับยาเคมีบำบัด เมื่อผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ(PPN) เป็นเวลานาน ส่งผลให้ผู้ป่วยบางรายมีภาวะติดเชื้อ และทำให้ต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น จึงทำให้เกิดการพัฒนาแนวทางป้องกันการเกิด Phlebitis ในระยะที่ 2 ขึ้น เพื่อสร้างมาตรฐานและทบทวนแนวปฏิบัติให้สอดคล้องและครอบคลุมมากยิ่งขึ้นร่วมกับติดตามและเฝ้าระวังในเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยthaมหาวิทยาลัยมหิดลPhlebitisภาวะแทรกซ้อนภาวะหลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบยาเคมีบำบัดพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ให้ยาสารน้ำและสารอาหารพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ให้ยาสารน้ำและสารอาหารProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล