Mayuree ThawornpatSuwilai PremsriratSiripen UngsitipoonpornIsara ChoosriBuachut Watyam2024-01-112024-01-11201820242018Thesis (M.A. (Linguistics))--Mahidol University, 2018https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92278Linguistics (Mahidol University 2018)This research was a study of Gong tone alternation in Kok Chiang Gong verb phrases. The objectives were to study the occurrences and the rules of tone alternation in Kok Chiang Gong through a qualitative approach using interviews and voice recordings to collect data from Gong language consultants. The data elicitation was conducted based on 308 verbs used in various simple sentence types and narratives. The results showed that Gong monosyllabic verb tone alternation behaviors could be put into three categories: Category I contained monosyllabic verbs carrying rising or rising falling tones, which, alternately could be realized as low tone, category II contained monosyllabic verbs carrying mid tone, whose adjoining verb particle carrying low tone, could be realized as high falling tone, category III consisted of monosyllabic verbs exhibiting three tones (low tone, mid tone, and high falling tone) in different sentence types. The disyllabic verbs and compound verbs remained in their base forms in every sentence structure while reduplicative verbs exhibiting different tone patterns were classified into three groups, based on the respective non-reduplicative form's tonemes: mid tone, rising falling or rising tone, and high falling tone. The results of this study led to the conclusion that the understanding of Gong verb tone alternation rules is essential for the preservation, revitalization and development of the languageงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ในกริยาวลีของภาษากฺ๋อง บ้านกกเชียง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์และค้นหากฎของการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ในภาษากฺ๋อง บ้านกกเชียง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์และการอัดเสียงผู้บอกภาษากฺ๋อง การเก็บรวบรวมข้อมูลอิงจากการใช้คำกริยา 308 คำ ในประโยคความเดียวประเภทต่าง ๆ และเรื่องเล่า จากการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของคำกริยาพยางค์เดียวนั้นแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วยคำกริยาที่มีเสียงวรรณยุกต์ขึ้นและขึ้น-ตก ซึ่งมีการเปลี่ยนเป็นเสียงวรรณยุกต์ต่ำ กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วยคำกริยาเสียงวรรณยุกต์กลาง ซึ่งคำอนุภาคแสดงคำกริยาที่ตามหลังมีการเปลี่ยนจากเสียงวรรณยุกต์ต่ำเป็นเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก และกลุ่มที่ 3 ประกอบด้วยคำกริยาที่มีเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก มีการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ 3 เสียงในประเภทประโยคที่แตกต่างกัน ได้แก่ เสียงวรรณยุกต์ต่ำ เสียงวรรณยุกต์กลาง และเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก ในส่วนของคำกริยาสองพยางค์และคำกริยาประสมนั้นไม่แสดงการเปลี่ยนแปลงของเสียงวรรณยุกต์ในประเภทประโยคใด ในขณะที่คำซ้ำกริยานั้นแสดงเป็นรูปแบบเสียงวรรณยุกต์ต่าง ๆ สามารถแบ่งกลุ่มได้ตามเสียงวรรณยุกต์ของรูปกริยาที่ไม่อยู่ในรูปคำซ้ำ ได้แก่ เสียงวรรณยุกต์กลาง เสียงวรรณยุกต์ขึ้น-ตกและเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการทราบกฎการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของภาษาก๋องเป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาภาษากฺ๋องต่อไปxii, 266 leaves : mapsapplication/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าChinese language -- SemanticsSino-Tibetan languagesUgong language -- PhonologyTone alternation in Gong verb phrasesการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ในกริยาวลีภาษาก๋องMaster ThesisMahidol University