อุวรรณ โศภิตสกลวรรณภา ประไพพานิชวันทนา มณีศรีวงศ์กูลUwan SopitsakolWonnapha PrapaipanichWantana Maneesriwongulมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี2019-08-192019-08-192562-08-192561รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 328-3440858-9739 (Print)2672-9784 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44590การวิจัยแบบบรรยายเชิงความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัย 5 ด้าน 1) ด้านผู้ป่วย 2) ด้านลักษณะของโรค 3) ด้านยา 4) ด้านสัมพันธภาพ ระหว่างบุคลากรทีมสุขภาพและผู้ป่วย และ 5) ด้านสถานที่ให้การตรวจรักษา กับการรับประทาน ยากดภูมิคุ้มกันอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไต กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยหลังปลูก ถ่ายไตครั้งแรก 6 เดือนขึ้นไป จำนวน 104 ราย ที่มารับการรักษา ณ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่ประเมิน 1) ข้อมูลส่วน บุคคล 2) ความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยา 3) อาการข้างเคียงของยา 4) ความรู้ 5) การเดินทางมารับบริการรักษา 6) การสนับสนุนทางสังคม 7) สัมพันธภาพระหว่างบุคลากรทีม สุขภาพและผู้ป่วยและความสะดวกของการมารับบริการ และ 8) ภาวะซึมเศร้า สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สหสัมพันธ์ของ สเปียร์แมน และสหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.40 มีความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรบั ประทานยากดภูมิคุ้มกันดี และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการ รับประทานยากดภูมิคุ้มกันอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ปัจจัยด้านผู้ป่วย ปัจจัยด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคลากรทีมสุขภาพและผู้ป่วย และปัจจัยด้านสถานที่ให้การตรวจ รักษาตามลำดับ ผลการศึกษาสามารถนำไปจัดกิจกรรมการพยาบาลโดยการสนับสนุนปัจจัย ดังกล่าวเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการรับประทานยากดภูมิคุ้มกันอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอThe purpose of this descriptive correlational study was to examine the association among five factors which consisted of 1) patient variables, 2) disease characteristics, 3) treatment regimen, 4) patient-provider relationship, and 5) clinical setting, respectively, with immunosuppressive medication adherence. A total of 104 recipients, who underwent first kidney transplantation for at least six months or more, were the participants of the study. The recipients were recruited at the internal medicine outpatient department at a tertiary hospital. Data were collected using the following instruments: 1) the Personal Demographic Questionnaire, 2) the Medication Adherence Questionnaire, 3) the Thai version of the Modified Transplant Symptom Occurrence and Symptom Distress Scale, 4) the Knowledge of Immunosuppressive Drugs Used Questionnaire, 5) the Transportation Questionnaire, 6) the Social Support Questionnaire, 7) the Patient-Provider Relationship and Convenience in Follow Up Services Questionnaire, and 8) the Centre for Epidemiologic Studies Depression Scale. Statistical analyses were performed using descriptive statistics, Pearson product-moment, Spearman’s rank correlation, and point biserial correlation. The results showed that 64.40% had immunosuppressive medication adherence, and three factors significantly correlated with immunosuppressive medication adherence: patient factors, patient-provider relationship, and clinical settings factors, respectively. The findings of this study could help nurses to develop effective interventions by promoting these factors in order to maximize patients’ medication adherence.thaมหาวิทยาลัยมหิดลความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยาการผ่าตัดปลูกถ่ายไตยากดภูมิคุ้มกันMedication adherenceKidney transplantationImmunosuppressiveปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอในผู้ป่วย หลังปลูกถ่ายไตFactors Related to Medication Adherence in Kidney Transplant RecipientsArticleโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล