Iona KoikeJiraporn ChompikulBang-on ThepthienNaruemon Maikhanอิโอนา โคอิเกะจิราพร ชมพิกุลบังอร เทพเทียนนฤมล ไม้แก่นMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2021-05-122021-05-122021-05-122018Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.1 (๋Jan-Apr 2018), 29-431905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62141The breast cancer incidence rate is highest among women in Thailand. Monthly breast self-examination (BSE) which is simple, inexpensive and effective to detect breast cancer is recommended for every woman as the first step for early detection. Therefore, cross-sectional study was conducted to identify factors associated with monthly BSE among Thai women aged 20 years old and over in Samut Songkhram Province, Thailand. Data collection procedure was carried out from April to May, 2017. A sample of 405 women was selected by multi-stage cluster sampling to participate to face to face interviews. Chi-square tests and multiple logistic regression were used to examine association between independent variables and monthly BSE. The results of this study showed that only 18.8% of women reported doing monthly BSE while 47.2% never practised BSE. In Chi-square test, variables significantly associated with monthly BSE were family income, health insurance situation, breast cancer knowledge, BSE knowledge, health motivation, BSE training experiences, and mammography experiences. After adjusting for other factors in the multiple logistic regression model, breast cancer knowledge (Adj OR= 3.85; 95% CI= 1.95-7.62), BSE knowledge (Adj OR= 7.31; 95% CI= 2.98-17.93), health motivation (Adj OR= 2.10; 95% CI= 1.14-3.39) and BSE training experiences (Adj OR= 2.85; 95% CI= 1.48-5.49) remained significantly associated with monthly BSE. These findings suggest that providing BSE training to the women is the key in promoting monthly BSE. Therefore, promoting effective BSE training to increase their knowledge about BSE and breast cancer will result in a widespread of monthly BSE among women.อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งเต้านมในสตรีสูงที่สุดในประเทศไทย การตรวจร่างกายด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายราคาไม่แพงและมีประสิทธิภาพในการตรวจหามะเร็งเต้านมได้รับการแนะนำสำหรับผู้หญิงทุกคนเป็น ขั้นตอนแรกของการตรวจหามะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นการศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้จึงได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนของสตรีไทยอายุ 20 ปีขึ้นไปในจังหวัดสมุทรสงครามประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ได้สุ่มเลือกตัวอย่างสตรี จำนวน 405 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มแบบหลายขั้นตอนเพื่อเข้าร่วมการสัมภาษณ์ การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณถูกนำมาใช้เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีเพียง 18.8% ของผู้หญิงที่รายงานว่าการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ในขณะที่ 47.2% ไม่เคยมีประสบการณ์การตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน จากการทดสอบไคสแควร์ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนได้แก่ รายได้ของครอบครัวสถานการณ์การประกันสุขภาพ ความรู้โรคมะเร็งเต้านม ความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ความแรงจูงใจด้านสุขภาพ ประสบการณ์การฝึกอบรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และประสบการณ์ในการตรวจเต้านมการตรวจเต้านมด้วยเครื่องแมมโมกราฟฟี่ หลังจากปรับอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆในตัวแบบการถดถอยลอจิสติกพหุคูณแล้ว ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม (Adj OR = 3.85; 95% CI = 1.95-7.62) ความรู้การตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Adj OR = 7.31; 95% CI = 2.98-17.93) แรงจูงใจด้านสุขภาพ (Adj OR= 2.10; 95% CI= 1.14-3.39) และประสบการณ์การฝึกอบรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Adj OR = 2.85; 95% CI = 1.48-5.49) ยังคงมีความสัมพันธ์กับการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ผลการวิจัยเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าการจัดการฝึกอบรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองให้กับสตรีเป็นกุญแจสำคัญในการส่งเสริมการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ดังนั้นการส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองและความรู้เกี่ยกับโรคมะเร็งเต้านมจะส่งผลให้มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองในผู้หญิงเป็นประจำทุกเดือนอย่างการแพร่หลายengMahidol Universitybreast self-examinationbreast cancerThai womenตรวจเต้านมด้วยตนเองมะเร็งเต้านมสตรีไทยDeterminants of monthly breast self-examination among women in Samut Songkhram Province, Thailandปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจเต้านมด้วยตนเองในหญิงไทย จังหวัดสมุทรสงคราม ประเทศไทยOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University