กมลพร ปัทมาวิไลตรีทิพย์ ปานเจริญรุ่งทิพย์ จันทร์คำวงษรัชพร แสงจันทร์ปทุมมา สุวดิษฐ์ฐิตินันท์ หนักแก้วสุพิชชา เชิดฉิ่งอรนภา ทมเจริญชิดชนก บุญกุศลกรกนก ทิพย์ประสิทธิ์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-07-302021-07-302564-07-302561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63035ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 141โรงพยาบาลในประเทศไทย พบอัตราความชุกการติดเชื้อในประเทศ ร้อยละ 6.6 จากการศึกษาในผู้ป่วย 50,000 ราย พบมีการติดเชื้อเฉลี่ย 1 ครั้ง ใช้เวลารักษาเฉลี่ย 10.5 วัน ค่าใช้จ่ายในการรักษา 5,915.47 บาท ค่ารักษาต่อ ปีประมาณ 1,600 ล้านบาท (สำนักการพยาบาล 2546) จากสถิติปี 2559-2560 หอผู้ป่วย วธ.3 มีผู้ป่วยที่ติดเชื้อและเชื้อดื้อ ยาที่จำเป็นต้องควบคุมเป็นพิเศษ เฉลี่ย 3-6 คน/เดือนและมีระยะเวลาในการ อยู่โรงพยาบาลนานตั้งแต่ 1 เดือนจนถึง 2 ปี ซึ่งลักษณะของหอผู้ป่วยนั้น ให้บริการผู้ป่วยทุกโรค รวมถึงผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำที่เกิด จากผลข้างเคียงของการให้ยาเคมีบำบัด มีจำนวน 60-70%ของผู้ป่วยในแต่ละ เดือน ดังนั้นหอผู้ป่วยจึงได้จัดทำโครงการมาตรการสยบการแพร่กระจายเชื้อ ในหอผู้ป่วยขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อและเชื้อ ดื้อยาที่จำเป็นต้องควบคุมเป็นพิเศษ และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรการคุมเข้มเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อและ ควบคุมค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยภายในหอผู้ป่วยthaมหาวิทยาลัยมหิดลการแพร่กระจายเชื้อเชื้อดื้อยาควบคุมค่าใช้จ่ายหอผู้ป่วยControl MDRS to Cost ReductionProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล