วิภารัตน์ ศรีสุวรรณ์ศรันยา เจริญศรีกนิษฐา จันทรคณาทวี ชาญชัยรุจิราWiparat SrisuwanSaranya CharoensriKanittha JantarakanaThawee Chanchairujiraมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาอายุรศาสตร์2022-09-282022-09-282565-09-282564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79715ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 134การวิจัยนี้เป็น Randomized-controlled crossover เปรียบเทียบ ความเพียงพอของการฟอกเลือด (delivered Kt/V) ที่อัตราการไหลของน้ำยา ฟอกเลือด 800 และ500 มิลลิลิตร/นาที และจำนวนครั้งของตัวกรองเลือดที่ นำกลับมาใช้ซ้ำในผู้ป่วยฟอกเลือด 3 ครั้ง/สัปดาห์ โดยการสุ่มแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม วัดค่าความเพียงพอของการฟอกเลือดในตัวกรองใหม่และนำกลับมา ใช้ซ้ำครั้งที่ 4, 7, 10, 13 และ15 วิเคราะห์ด้วย repeated measure ANOVA ของโปรแกรม NCSS สาหรับ Non-inferiority ผลการวิจัย ผู้ป่วยจำนวน 42 คนได้รับการฟอกเลือดรวม 1,260 ครั้ง (โดยใช้อัตราการไหลของน้ำยาฟอก เลือด 800 และ500 มิลลิลิตร/นาที อย่างละ 630 ครั้ง) เปรียบเทียบค่าความ เพียงพอของการฟอกเลือดที่ใช้อัตราการไหลของน้ำยาฟอกเลือดที่ 800 มิลลิลิตร/นาที มีค่าสูงกว่า 500 มล./นาทีในตัวกรองใหม่เพียงเล็กน้อยโดยมี spKt/Vเป็น 2.34±0.08 และ2.19±0.08 (P=0.04) และตัวกรองที่นำมาใช้ซ้ำ ครั้งที่ 4, 7, 10, 13, 15 พบว่ามีค่าเฉลี่ยของ spKt/V 2.31±0.07 และ 2.21±0.07 (P <0.001) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติthaมหาวิทยาลัยมหิดลDialysate flow ratehemodialysis adequacyreused dialyzerdelivered Kt/Vฟอกเลือดน้ำยาฟอกเลือดMahidol Quality Fairผลของการเปลี่ยนอัตราการไหลของน้ำยาฟอกเลือดต่อความเพียงพอของการฟอกเลือดในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่ใช้ตัวกรองซ้ำในโรงพยาบาลศิริราชProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล