Jittipan ChavadejPrasert SobhonNithima Vichatrong2024-07-052024-07-05199619962024Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1996https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99273Anatomy (Mahidol University 1996)Induction of spermiation was performed in adult male frogs, R tigerina and R. catesbeiana. Frog pituitary and synthetic mammalian gonadotropin releasing hormones (s-GnRH) and human chorionic gonadotropin (hCG ) were used to determine the most effective doses required to elicit spermiation during the breeding season. The pituitary extract showed the pronounced effect in stimulating sperm release. However, the concentration of 10 and 25µg s-GnRH could affect the spermiation with a slightly lower magnitude of response compare to the frog pituitary administration . In contrast, the hCG showed a relatively low stimulatory effect in R. catesbeiana The total concentration of R tigerina and R. catesbeiana aspirated spermatozoa were 2.97±0.86, 2.02±0.38 and 1.19±0.42 x10(5)cells/ml and 3.19±0.64, 2.98±0.36 and 0.1±0.03 x 105 cells/ml after pituitary homogenate, s-GnRH and hCG administration, respectively. In addition, the aspirated spermatozoa could survive at room temperature as long as 20 and 16 hours in R. tigerina and R. catesbeiana, respectively. The fertilizability rate was more than 90 % . The most effective dose of s-GnRH was also tested in the other seasons. The stimulation of sperm release in R. catesbeiana could be observed throughout the year but with the reduction time in the concentration during pre- ,post- and non-breeding seasons. In contrast, none of R. tigerina could be induced in non-breeding season. Moreover, testing the effects of repeated s-GnRH injections at close interval resulted in a complete twice responses in R tigerina whereas only one time in R. catesbeiana.โกนาโดโทรฟินรีลีสซิ่งฮอร์โมนสังเคราะห์ของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, ฮิวแมนโคริโอนิคโกนาโดโทรฟิน และฮอรโมนสกัดจากต่อมใต้สมองนำมาใช้เพื่อกระตุ้น ให้มีการหลั่งน้ำเชื้อในกบนาและกบบูลฟรอกในช่วงฤดู ผสมพันธุ์โดยฮอร์โมนสกัดจากต่อมใต้สมองสามารถกระตุ้น การหลั่งน้ำเชื้อได้ดีที่สุดทั้งในกบนาและกบบูลฟรอก โดยให้ผลมีการหลั่งน้ำเชื้อได้ถึง 100% ส่วนโกนาโด โทรฟินรีลีสซิ่งฮอร์โมนสังเคราะห์ขนาด 10 ไมโครกรัม และ 25 ไมโครกรัมสามารถกระตุ้นการหลั่งน้ำเชื้อได้ดี ในกบนาและกบบูลฟรอกตามลำดับ แต่ให้ผลด้อยกว่าเมื่อ เทียบกับฮอร์โมนสกัดจากต่อมใต้สมองและเมื่อเปรียบ เทียบกับฮอร์โมนสองชนิดแรกพบว่าการกระตุ้นด้วยฮิวแมน โคริโอนิคโกนาโดโทรฟินมีผลกระตุ้นการหลั่งน้ำเชื้อต่ำ กว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกบบูลฟรอก น้ำเชื้อที่ได้จาก การกระตุ้นด้วยฮอร์โมนนี้นำมาตรวจหาความเข้มข้นของตัว อสุจิพบว่ามีความเข้มข้นของน้ำเชื้อ 2.97±0.86, 2.02±0.38 และ 1.19±0.42 X 10(5) ตัว/มิลลิลิตรในกบนา และ 3.19±0.64, 2.98±0.36 และ 0.1±0.03X10(5) ตัว/มิลลิลิตร ในกบบูลฟรอกหลังการใช้ฮอร์โมนสกัดจากต่อมใต้สมอง, โกนาโดโทรฟินรีลิสซิ่งฮอร์โมนสังเคราะห์และฮิวแมน โคริโอนิคโกนาโดโทรฟินกระตุ้นตามลำดับ น้ำเชื้อที่เก็บได้นี้สามารถมีชีวิตอยู่ได้นาน 20 ชั่วโมงในกบนาและ 16 ชั่วโมงในกบบูลฟรอกที่อุณหภูมิ ห้องและมีความสามารถในการปฏิสนธิมากกว่า 90% ขนาด ของฮอร์โมน ที่ให้ผลกระตุ้นการหลั่งน้ำเชื้อที่ดีที่สุด ถูกนำมาใช้ทดสอบกบในช่วงหลังฤดูผสมพันธุ์, นอกฤดูผสม พันธุ์และก่อนฤดูผสมพันธุ์ ในกบบูลฟรอกพบว่าสามารถ กระตุ้นการหลั่งน้ำเชื้อได้ตลอดทั้งปี โดยความเข้มข้นของ น้ำเชื้อในฤดูอื่น ๆ ลดลงเมื่อเทียบกับฤดูผสมพันธุ์ ส่วน ในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ของกบนาไม่สามารถกระตุ้นให้มีการ หลั่งน้ำเชื้อได้เลย นอกจากนี้ผลการกระตุ้นซ้ำด้วยโกนาโด โทรฟินรีลีสซิ่งฮอร์โมนพบว่าในกบนาสามารถกระตุ้นให้มี การหลั่งน้ำเชื้อได้ถึงสองครั้ง และได้เพียงหนึ่งครั้งใน กบบูลฟรอกx, 80 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าFrogsGonadotropins, ChorionicGonadotropin-Releasing HormonePituitary HormonesRana catesbeianaEffects of synthetic mammalian gonadotropin releasing hormone, human chorionic gonadotropin and pituitary homogenate on spermiation in Rana tigerina and Rana catesbeianaผลของโกนาโดโทรฟินรีลีสซิ่งฮอร์โมนสังเคราะห์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, ฮิวแมนโคริโอนิคโกนาโดโทรฟินและฮอร์โมนสกัดจากต่อมใต้สมองต่อการหลั่งน้ำเชื้อในกบนาและกบบูลฟรอกMaster ThesisMahidol University