Nuttapon ArpornsujaritkunSurasak LeelaudomlipiAbhasnee SobhonslidsukSomkit MingphruedhiSutipong JongjirasiriPongphob IntaraprasongPanuwat LertsithichaiBundit SakulchairungreungGoragoch GesprasertVeeravorn AriyakhagornSuthus Sriphojanartณัฐพล อาภรณ์สุจริตกุลสุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิอาภัสณี โสภณสฤษฏ์สุขสมคิด มิ่งพฤฒิสุทธิพงษ์ จงจิระศิริพงษ์ภพ อินทรประสงค์ภาณุวัฒน์ เลิศสิทธิชัยบัณฑิต สกุลชัยรุ่งเรืองกรกช เกษประเสริฐวีระวร อริยขจรสุทัศน์ ศรีพจนารถMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of surgeryMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of MedicineMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Diagnostic and Therapeutic RadiologyBamrungrad International Hospital2022-09-222022-09-222022-09-222016Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 4 (Oct-Dec 2016), 217-2240125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79611Background: Liver transplantation (LT) is the standard treatment for end-stage liver disease, early-stage hepatocellular carcinoma and acute liver failure in adults and children. The shortage of donor organ is a barrier of decease donor LT, resulting in a high waiting-list mortality. Living donor liver transplantation (LDLT) has been performed in Thailand for 20 years to solve this problem. Objective: We evaluated the clinical outcomes after living donor hepatectomy. Methods: A retrospective study of living donor who underwent LDLT between 2001 and 2015 was performed. Clavien scoring system was used to grade the severity of complications. Result: One hundred living donors donated their parts of the livers, left lateral segment or left lobe, to their children. The operation was performed by one operative team. Complications did not occur in 91 donors. The common complications were wound problems (6%), bile leakage (2%) and bile duct injury (1%).Two donors required hospital readmission. Donor mortality is zero in 100 cases. Conclusions: Living donor hepatectomy for pediatric recipients was associated with a low complication rate in an experience team. Good operative planning may decrease the complication rate.บทนำ: การผ่าตัดปลูกถ่ายตับเป็นการรักษามาตรฐานสำหรับโรคตับวายเรื้อรังระยะท้าย โรคมะเร็งตับระยะต้น ตับวายเฉียบพลันทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ปัญหาการขาดแคลนอวัยวะจากผู้บริจาคสมองตายเป็นอุปสรรคของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับจากผู้บริจาคสมองตาย ดังนั้นการผ่าตัดปลูกถ่ายตับจากผู้บริจาคที่มีชีวิตจึงได้ถูกนำมาใช้ในประเทศไทยมานาน 20 ปี วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลทางคลินิกภายหลังการผ่าตัดตับผู้บริจาคที่มีชีวิตในการปลูกถ่ายตับแก่ผู้ป่วยเด็ก วิธีการ: เป็นการศึกษาเก็บข้อมูลย้อนหลังในผู้บริจาคตับที่มีชีวิตที่ได้ทำการแบ่งตับบริจาคให้ผู้ป่วยเด็ก ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2558 โดยใช้ระบบ Clavien scoring system มาใช้ในการประเมินระดับความรุนแรงภาวะแทรกซ้อน ผลการศึกษา: ผู้บริจาคตับที่มีชีวิตให้ผู้ป่วยเด็กเข้าร่วมการศึกษาจำนวน 100 ราย ได้ถูกทำการผ่าตัดตับเพื่อบริจาคตับด้วยศัลย์แพทย์ทีมเดียวกันตลอดการศึกษา ผลการศึกษาไม่พบภาวะแทรกซ้อนจำนวน 91 ราย ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้แก่ ปัญหาแผลผ่าตัดจำนวน 6 รายคิดเป็นร้อยละ 6 ปัญหาท่อน้ำดีรั่วซึมจำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 2 ปัญหาท่อน้ำดีได้รับบาดเจ็บจำนวน 1 รายคิดเป็นร้อยละ 1 และมีผู้ป่วยจำนวน 2 รายที่ต้องนอนโรงพยาบาลซ้ำรอบสอง สรุป: การผ่าตัดตับบริจาคจากผู้บริจาคที่มีชีวิตให้กับผู้ป่วยเด็กมีภาวะแทรกซ้อนน้อยในทีมผ่าตัดที่มีความชำนาญengMahidol Universityliving donorการประมาณเวลาตายการเปลี่ยนแปลงภายหลังตายการชันสูตรพลิกศพการสอบสวนการตายliver donorpediatric liver transplantationcomplicationOutcome of Living Donor Hepatectomy for Pediatric Liver Transplantation: Report of 100 Cases at Ramathibodi Hospitalผลการผ่าตัดตับของผู้บริจาคตับที่มีชีวิตเพื่อการปลูกถ่ายตับในเด็ก: รายงานผู้ป่วย 100 รายในโรงพยาบาลรามาธิบดีOriginal ArticleDepartment of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityBamrungrad International Hospital