Amara SoonthorndhadaSirinapha JittimaneeCharamporn HolumyongChunjira Wichai2023-09-062023-09-06201320132023Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2013https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89437สถานการณ์ของวัณโรคในประเทศไทยมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเพิ่มขึ้น ของการตายและจำนวนผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี หรือแรงงานย้าย ถิ่นข้ามชาติ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจ การวินิจฉัยโรค การรักษา และการกินยาของ ผู้ป่วยวัณโรคสัญชาติพม่าที่รักษา ณ โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย โดยการสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถามจำนวน 97 คน และสัมภาษณ์เชิงลึกเพิ่มในเรื่องของการเข้าถึงการรักษาและการกิน ยาจำนวน 27 คน รวมทั้งติดตามไปเยี่ยมบ้านอีกจำนวน 9 คน ซึ่งเก็บข้อมูลในเดือน พฤศจิกายน 2553 ถึง เมษายน 2554 ในจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 97 คน พบ บทบาททางเพศ การตีตราและการ แบ่งแยก การขาดความรู้เรื่องของวัณโรคและการติดเชื้อเอชไอวี การไม่ได้รับความช่วยเหลือ และ การเลือกรักษาด้วยวิธีการอื่น ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกยืนยันข้อค้นพบจากแบบสอบถาม และพบ ปัจจัยสำคัญเพิ่ม เช่น การว่างงาน ไม่มีรายได้ ได้รับความช่วยเหลือน้อย เสียโอกาส การเดินทางและ สิ่งที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมการรับการรักษา และสุขภาพที่ทรุดโทรม ซึ่งผลการวิเคราะห์สมการ ถดถอยพบว่า การดูแลทางจิตใจ น้ำหนักตัวก่อนรักษา และการเกิดผลข้างเคียงจากยา เช่น คัน และ ชา เพิ่มโอกาสการรักษาวัณโรคอย่างมีนัยสำคัญในทางกลับกัน ความเครียด การเตือนเรื่องเวลากิน ยา และการติดเชื้อเอชไอวี ลดโอกาสการรักษาวัณโรคอย่างมีนัยสำคัญxii, 82 leaves : ill. (some col.)application/pdfengMigrants labor -- BurmaTuberculosisTuberculosis -- TreatmentTuberculosis, PulmonaryPoor -- health and hygieneHIV Infection -- BurmaChallenges of pulmonary TB treatment among Myanmar migrants in border areas of Chiangrai province, Thailandความท้าทายของการรักษาวัณโรคปอดในกลุ่มแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่า ณ บริเวณชายแดน จังหวัดเชียงราย, ประเทศไทยMahidol University